สำนักวัดนาป่าพงคึกฤทธิ์และสาวกพลาด! สร้าง" พุทธวจน " ปลอม

ในห้อง 'Black Hole' ตั้งกระทู้โดย เสขะปฎิสัมภิทา, 7 กรกฎาคม 2015.

  1. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    อืม? งั้นก็มีวิธีแนวทางการเล่นเกมส์ให้เล่นแบบใหม่ รอรับความสนุกได้ สอนแบบนี้ ดันแต่ในกระทู้ คนรู้น้อยและรู้ไม่มาก จะสวนกระแสให้เองแบบไม่มีกั๊ก เปิดเผยจุดอ่อนและการล่มสลายของตนเองให้กับฝ่ายตรงกันข้ามไงล่ะ

    ตราบใดที่ไม่รู้สภาวะก็ไม่มีทางได้เข้าใจอย่างเด็ดขาดได้
     
  2. ธรรมแท้ว่าง

    ธรรมแท้ว่าง กายเบาใจเบา

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    12,288
    ค่าพลัง:
    +12,620
    พาศิษย์ทั้งหมดพลอยคึกคะนองไปด้วย555
     
  3. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ผู้ใดมีหรือบรรลุปฎิสัมภิทาญาน ก็ผู้นั้นแหละ ร่มโพธิ์ศรีทั้ง ๓ แต่ต้องมาคัดเลือกแบ่งแยกระดับ ๑-๑๖ กันอีกที

    ตอนนี้มีแต่เพียงระดับ ๑ มาแสดงตัวอยู่ตรงนี้เพียงคนเดียว พยายามตามหาไปทั่วทุกสำนักที่ประกาศมี ก็ยังไม่มีสมราคาคุย


    ปี พ.ศ. 2560 คือ กึ่งพุทธกาล ครบ 2,500 ปี หลังพระพุทธเจ้าปรินิพพาน
    การใช้ พ.ศ. ของประเทศไทยคลาดเคลื่อน

    1). The Cambridge and Oxford histories of India ยอมรับว่า พระพุทธเจ้าทรงปรินิพพาน 483 ปีก่อน คริสตศักราช

    ปีนี้ 2017 + 483 = ปี 2500
    พระพุทธเจ้าได้ปรินิพพานไปแล้ว 2,500 ปี

    พ.ศ. ของไทย ปัจจุบัน คือ พ.ศ. 2560 เท่ากับว่า พ.ศ.ไทยเรา เร็วไปกว่า 60 ปี

    The Cambridge and Oxford histories of India accept 483 B.C as the date of Buddha’s nirvana.
    He was 80 years old when he died, so this puts his birth year at 563 BCE


    2). ศ.ดร.ประเสริฐ ณ นคร
    บอกว่า การเรียก พ.ศ.ผิดนี้ เริ่มตั้งแต่สมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ตามชินกาลมาลีปกรณ์ ระบุว่า พระเจ้าอโศกเสวยราชย์ ระหว่าง พ.ศ.214-255
    ที่ทราบว่าผิดความจริง ก็เพราะพระองค์ส่งสมณทูตไปตามเมืองต่างๆ (กระทั่งสุวรรณภูมิ) เมืองเหล่านี้มีศักราชจดไว้แน่นอน เทียบศักราชดูแล้ว พบว่า นับ พ.ศ.มากเกินไป 1 รอบ คือ 60 ปี
    อ้างอิง


    3). ถ้า พ.ศ. ของไทยคลาดเคลื่อนตามเหตุผลข้างต้น
    ปี พ.ศ. 2560 เท่ากับ 2,500 ปี
    ดังนั้นปี พ.ศ. 2560 ครบ 2,500 ปี ที่พระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพาน เป็นยุคกึ่งพุทธกาลของ 5,000 ปี
    สุภาษิตอีสาน
    ฟังเอาท่อนคำสอนโลกใหม่ไผยังบ่ฮู้เขิงแก้วสิฮ่อนคนฟังเอาเด้อพี่น้องเพิ่นสิฮ่อนหาคนดีไผผู้มีศีลธรรมอยู่เขิงคาค้าง ไผเดินทางผิด
    เส้นทำตนเป็นคนชั่ว มันสิลอดกระด้งบ่มีค้างแผ่นเขิงเขิงแผ่นนี้ได้ชื่อว่าเขิงคำ เป็นคำสอนพระพุธโธเฮาตั้ง เพิ่นได้วางเอาไว้โพธิ์ศรีห่มใหญ่ สิเอาคนอยู่ซ้น โพธิ์กว้างสิอยู่เย็น โพธิ์นี้บ่ได้ปลูกตามดินเป็นโพธิ์ศีลโพธิ์ธรรมหว่านมาแต่เมืองฟ้าเว้านำธรรมคงฮู้ครูเฮาสอนสั่งคำพระสังฆเจ้าโปราณเฒ่าว่ามา พระศรีอาริยะเพิ่นสร้างโพธิ์ศรีสามห่มเอาคนเข้าอยู่ซ่นโพธิ์สิอยู่เย็นนี้หาหกแม่นคำสอนบ่อนพระองค์นำทางชี้ เอาว่าโพธิ์ศรีสามต้นคนเฮาสิได้เพิ่งตกมาฮอดเขิงข่อนตอนท้ายศาสนา พระศรีอารย์เพิ่นสิลงมาค้นเอาผู้ประเสริฐเลือกแต่ผู้ล้ำเลิศกระทำสร้างแต่บ่อนดีอันว่าพวกปล้นจี้เรื่องโหดสามารย์ ยมพิบาลมาจับเข้าสู่อเวจีกว้างให้ทำดีเอาไว้ เพื่อเอาตนเข้าฮ่ม มนุษสาโลกกว้างคนสิล้มท่าวตาย เพิ่นสิมาเลือกเอาไว้สามร่มโพธิ์ศรีให้พอดีเขิงแก้ว มันหากเถิงคาวแล้ว คนเฮาอย่านอนอยู่ ให้พากันตื่นถ้อนอย่านอนนิ่งสิเพิงไผ เดียวนี้แสงธรรมจ้าองค์พุทโธกำลังส่องมองไปไสก็เจิดจ้าแสงธรรมเจ้าส่องมาหวังให้โลกนี้กว้างปวงประชาชาวโลกพ้นจากมารหมู่ฮ้าใจเจ้าสิอยู่เย็น อย่าพากันเกียจคร้านเด้อท่านผู้ถือศิ่นถ้าไปกินนำพระผู้เพิ่นมีบุญล้นไผผู้ทนเอาไว้มีใจมั่นเที่ยงกะสิเถิงแห่งห้องวิมานแก้วอยู่เย็นทุกสิ่งในโลกนี้ ล้วนแต่อนิจจังวะคะสังขาราบ่เที่ยงตรงเด้อฟ้า ให้ทำดีเอาไว้เอาคนเข้าฮ่มให้พากันสร้างทางสิเข้าร่มโพธิ์ อย่าทำตนเป็นคนโก้หากินนำคนโง่ ฮู่ว่าโง่แล้วอย่าไปซ้ำตื่มแถม กรรมสิแนบนำก้นบ่ทันคนสิเห็นดอกไผผู้ทำชั่วช้ากรรมฮ้ายหากสิเห็นมันสิลอนกระด้งบ่ค้างว่างตาเขิง อย่าพากันเลวทรามให้จำจื่อเอาไว้ หากแม่นคำสอนเจ้าองค์พุทโธสอนสั่งขอให้ชาวพี่น้องฟังแล้วให้จื่อเอาจังสิเห็นทางเข้า โพธิ์ศรีสามห่มสู่อันมีทางลมภัยน้ำทั้งสามสิไหวหวั่นเฮงสิมาเตงตื่มซ้ำทำให้หมุ่นมะลายคนจะตายไปพร้อมนๆ นับบ่กัน ปีกุนผ่านเข้าไปแล้วสิแพวขึ้นกว่าแต่หลัง ไผผู้ยังอยู่เหลือค้างสิเห็นทางบุญบาป นอกจากกรรมหมู่ฮ้ายใจเจ้าสิชื่นบาน อย่าพากันเกียจคร้านให้ตั่งต่อถือศีลธรรม จังสิมีอันสูงอยู่สบายหายฮ้อน
    องค์พระธรรมเจ้าสิลงมาครองโลก หากสิเห็นเที่ยงแท้ไผทำสร้างบุญทันนั้น พระองค์เนาอยู่ยังเมืองใหญ่กรุงศรีปัจจุบัน อยู่เมืองล้านช้าง เพิ่นสิมาถึงแท้เดือนสิบเอ็ดมื้อแปดค่ำ พ.ศ. สองพันห้าร้อยปีกุนแท้แน่นอน พ.ศ. ล่วงมาถึงห้าโลกากว้างเมืองหลวงสิฮอดแฮ่งมนุษย์สิประสบเดือดฮ้อนทางสิพ้นแม่นบ่มี คันไผทำชั่วฮ้ายเมืองฟ้าสิบ่เห็น มีแต่จมลงพื้นอเวจีหม้อใหญ่ ท่านพระศรีเพิ่นสิกอดบ่ได้ อันนี้หากมีในห้องครองธรรม โลกใบนี้เป็นโลกใหม่ภัยมหันต์ศาสนาสองพันล่วงมาถึงแล้วคนเขาแซว ๆ เว้าโลกาบ่เก่าบางผองเจ็บป่วยไข้ตายเกินวัยเกินขนาดโรคประหลาดก็หากมาใหม่เรื่อยยาแก้ก็บ่ทัน อัศจรรย์น้อฟ้าโลกามันเปลี่ยนบ่เคยเห็นกะซ่างพ้อน้อนี้จังแม้นกรรม อันว่าทางฝนโลกาบ่คือเก่าคั่นว่าตกก็หากตกมาล้นจนท่วมทั่วแดนดินว่าแล้งจนแผ่นดินแดงคันว่าหนาวก็หนาวพาโลต่างหลังเหลือล้น คนเขาแซวๆ เว้าเป็นไปหมดทุกอย่างภัยพิบัติต่างๆก็หากบังเกิดขึ้นตายได้ง่าย พระเจ้ากล่าว ขอให้ชางพี่น้องฟังแล้วให้จื่อเอาท่านเอย

    ต่อไปจะมีพระจักรพรรดิ์เป็นผู้ปกครองโลก พระยาธรรมมิกราชจะเป็นคล้ายพระสังฆราช และจะมีพระโพธิสัตว์อีกองค์หนึ่ง จะทำหน้าที่คล้ายนายกรัฐมนตรี ซึ่งสามร่มโพธิ์ศรีก็คือ สามโพธิสัตว์ที่ลงมาทำหน้าที่ดูแลพระพุทธศาสนา นั่นเอง เอาเป็นว่า มีผู้ที่เขาลงมาทำหน้าที่นี้กันครับ และก็มีเหล่าอัญญาสิทธิ์ อัญญาธรรม ที่ตามลงมาทำหน้าที่อีกจำนวนหนึ่ง บางคนก็รู้ตัวเองแล้ว บางคนก็อาจจะยังไม่รู้ตัวเองครับ ถึงเวลาแล้วก็คงจะได้เห็นว่าของจริงนั้นเป็นอย่างไร ซึ่งบางท่านบางคน บางท่าน จะมีชื่อเสียงในหมู่ของเทพ เทวดา นาค ครุฑ กุมภัณฑ์ ฤษี มุนี ดาบส ฯลฯ และพวกเขาเหล่านั้นก็รอยุคพระยาธรรมมิกราชนี่แหละ แต่พวกมนุษย์ไม่รู้จักเพราะท่านเหล่านี้จะอยู่อย่างเงียบๆและลี้ลับ เป็นต้น ครูบาอาจารย์ท่านเคยเปรยๆให้ฟังว่า สำหรับผู้ทำบารมีเข้มข้นแล้วนั้น "ดังบ่ดี ดีบ่ดัง" ครับ

    ใครพอทราบถึง สามร่มโพธิ์ศรี บ้าง?
    1.ปัจจุบันนี้ถึงแล้วหรือยัง?
    2.ท่านพระโพธิสัตว์ สามพระองค์คือใครบ้าง?



    รอ.......................................

    ถ้ากุนปีนี้ อยากลาออกไปบวชเลยเชียว
    พ.ศ. 2562
    ปี กุน พุทธศักราช (พ.ศ.) 2562 คริสตศักราช (ค.ศ.) 2019 รัตนโกสินศก (ร.ศ.) 238

    ส่วนจะตรงกับปีนักษัตรของประเทศราชใด ค่อยว่ากัน..........ดูที่ผลก่อนจะดีกว่า
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 ธันวาคม 2018
  4. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    คึกวจน

    อานุภาพของ นึกเอาสัตว์ชะนีปลาติหาน


    “ธรรมที่เราได้บรรลุแล้วนี้ เป็นคุณอันตื้น เห็นได้ง่าย รู้ตามได้ง่ายมากเป็นธรรมวุ่นวาย หยาบโลน หยั่งลง สู่ความตรึก สากคาย

    เป็นวิสัยของโมฆะบุรุษจะพึงรู้แจ้งฐานะคือความที่อวิชชาเป็นปัจจัยแห่งสังขารเป็นต้นนี้เป็นสภาพอาศัยปัจจัยเกิดขึ้นนี้ แม้ฐานะคือธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวงเป็นที่สละคืนอุปธิทั้งปวง เป็นที่สิ้นตัณหา เป็นที่สิ้นกำหนัด เป็นที่ดับสนิท
    หากิเลสเครื่องร้อยรัดมิได้ นี้ก็แสนง่ายที่จะเห็นได้

    ถ้าเราจะพึงแสดงธรรม สัตตานังเหล่าอื่นก็จะพึงรู้ทั่วถึงธรรมของเราข้อนั้นจะพึงเป็นความรื่นรมย์แสนสุขสบายแก่เรา
    จะพึงเป็นความสุขสนุกหฤหรรย์แก่เรา



    ขอแสดงความยินดีด้วยที่ได้บันทะลุทำกันทั้งสำนัก

    48240825_380297105863988_4870296423205175296_n.jpg
     
  5. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201


    นับตั้งแต่เปิดเผยเรื่องการทำลายพระไตรปิฏกนี้ได้ ๗ วัน เนปาลถล่ม

    เมื่อแสดงคำพูดการกระทำกายวาจาใจให้เป็นฝั่งตรงกันข้าม แห่งจิต คือไม่เป็นจริงตามที่ใจต้องการ แต่เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริงมาแล้ว

    รู้สึกคิดและวิตกได้ว่า กำลังจะเกิดมหันตภัยครั้งใหม่เกิดขึ้นอีก ที่เกินคาดหมายแบบไม่ทันได้ตั้งตัว จนวิพากย์วิจารณ์กันไปต่างๆนานา การสูญเสียจักมี


    เมื่อจริตสิ่งนี้มีแล้ว ทั้งที่ไม่ควรจะมี สิ่งนี้สิ่งนั้นย่อมบังเกิดขึ้นตามกาล

    จะเป็นผลจากอันใดเล่า ธาตุกำเริบ และผู้มีฤทธิ์บันดาลคลายฤทธฺิ์
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 ธันวาคม 2018
  6. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
     
  7. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    สมัยก่อน ก่อนที่ญาติโยมจะตั้งศรัทธาในสงฆ์รูปใดก็ตาม เขาจะเฝ้าดูการประพฤติปฎิบัติเสมอๆ ว่าพระรูปนั้นรูปนี้มีความประพฤติและรู้ธรรมอันใด มีคุณสมบัติเป็นครูบาอาจารย์หรือเปล่า ต้องใช้ระยะเวลานานหลายวันหลายเดือนหลายปี จนแน่ใจแล้วจึงตั้งในศรัทธา หลายๆรูปโดนลองของ เสียกิริยาอาการหนีสึกหนีหายไปเลยก็มี ทุกๆวันนี้ ญาติโยมมีศรัทธาแต่ขาดปัญญามีมาก เห็นผ้าเหลืองปุ๊บใจก็อ่อนระทวย ระบุพระแท้ๆ ทั้งๆที่ตนเองก็ไม่รู้ว่าพระแท้เป็นอย่างไร จนไปสนับสนุน โมฆะ บุรุษอามิสทายาทมากมายให้มาเติบใหญ่ในสังฆมณฑลทำลายบวรพระพุทธศาสนา
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  8. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • eye buddha.jpg
      eye buddha.jpg
      ขนาดไฟล์:
      94.4 KB
      เปิดดู:
      98
  9. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    11760091_281364058701001_6152618094636589814_n.jpg

    ดูสติปัญญาของโมฆะบุรุษ อามิสทายาทผู้นี้ ปฎิสัมภิทาก็ไม่เอา ธรรมจักษุ ทิพยจักษุ ญานจักษุ ทั้งหลายฯในจักษุ ๕ ก็ไม่รู้จัก ดวงตาเห็นธรรมก็ไม่รู้จัก วิมุตติญาน นิรุตติก็ไม่รู้จัก เพ่งวิมุตติโดยวสี๕ ก็ไม่รู้จักไม่เป็นอะไรทั้งนั้น ทั้งเนื้อทั้งตัวจึงมีแต่มิจฉาวิมุตติ เข้าใจว่าตนบรรลุธรรม มาทำอวดเก่งเปิดสำนักสั่งสอนธรรมผู้อื่น จะเปลี่ยนพระไตรปิฏกทั้งโลก


    เถระคาถา คำพระสาวกก็ล้วนมาจากวิมุตติญานทัสสนะกถา ที่เสพซ้องแปลงเป็นนิรุตติญานทัสสนะกถาแบบที่ท่านพระนาคเสนแสดงธรรมแก่พระเจ้ามิลินท์ ละเอียดแล้วละเอียดอีกเป็นร้อยนัยพันนัย

    จะให้แต่สาวกท่องจำแบบนกแก้วนกขุนทอง แบบมุขปาฐะ แล้วจารจารึกลงใบลานเสาหินอโศกอย่างเดียวอย่างนั้นหรือไอ้บ้า

    ดวงตาเห็นธรรม ผู้ใดเห็นก็จะต้องปรากฎวิมุตติ อย่างน้อยก็ขั้นต่ำสุดในวิมุตติ ๕ ด้วย
    ไม่ใช่อ่านจากตำราหนังสือใบลานไปจำมาแล้วมาบอกว่าตนเองเห็นธรรมหรือตนเองศรัทธาแล้วเชื่อแล้วในพระธรรมคืออาการวิมุตติหรืออาการเห็นธรรม เขาเรียกว่าเพ่งวิมุตติ เสพซ้องเสพปิติในธรรม ได้กินใจลึกซึ้งในธรรมนั้น หรือเห็นบทธรรมนั้นตามในอดีตชาติที่สั่งสมมา

    ลูกศิษย์เลยบ้าตามทั้งสำนัก

    สัญญาสูตร

    อา. ดูกรท่านสารีบุตรผู้มีอายุ น่าอัศจรรย์ ไม่เคยมีมาแล้ว การที่อรรถกับอรรถพยัญชนะกับพยัญชนะของพระศาสดาและของสาวก เปรียบเทียบได้กัน เสมอกัน ไม่ผิดกัน ในบทที่เลิศ

    ดูกรท่านสารีบุตรผู้มีอายุ เมื่อกี้นี้
    กระผมเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ได้ทูลถามเนื้อความอันนี้ แม้พระผู้มีพระภาคก็ทรงพยากรณ์เนื้อความอันนี้ ด้วยบทเหล่านี้ ด้วยพยัญชนะเหล่านี้ แก่กระผมเหมือนที่ท่านพระสารีบุตรพยากรณ์ ดูกรท่านสารีบุตรผู้มีอายุ น่าอัศจรรย์ ไม่เคยมีมาแล้ว การที่อรรถกับอรรถ พยัญชนะกับพยัญชนะ ของพระศาสดาและของพระสาวก เปรียบเทียบกันได้ เสมอกัน ไม่ผิดกัน ในบทที่เลิศนี้ ฯ
    จบสูตรที่ ๗


    สากัจฉสูตร
    ว่าด้วยคุณสมบัติของผู้ควรสนทนา ๕ ประการ
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ
    ย่อมเป็นผู้ควรสนทนาของเพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลาย ธรรม ๕ ประการเป็นไฉน
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศีลด้วยตนเอง และเป็นผู้พยากรณ์ปัญหาที่มาในกถาปรารภสีลสัมปทาได้ ๑

    ย่อมเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยสมาธิด้วยตนเอง และเป็นผู้พยากรณ์ปัญหาที่มาในกถาปรารภสมาธิสัมปทาได้ ๑

    ย่อมเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปัญญาด้วยตนเอง และเป็นผู้พยากรณ์ปัญหาที่มาในกถาปรารภปัญญาสัมปทาได้ ๑

    ย่อมเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิมุตติด้วยตนเอง และเป็นผู้พยากรณ์ปัญหาที่มาในกถาปรารภวิมุตติสัมปทาได้ ๑

    ย่อมเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิมุตติญาณทัสสนะด้วยตนเอง และเป็นผู้พยากรณ์ปัญหาที่มาในกถาปรารภนิรุตติญาณทัสสนสัมปทาได้ ๑

    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๕ ประการนี้แล ย่อมเป็นผู้ควรสนทนาของเพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลาย.
    จบสากัจฉสูตรที่ ๕

    ทำไมจึงสำคัญนัก ทำไมจึงต้องบรรลุ
    ปฎิสัมภิทา เลิศอย่างไร? แล้วท่านจะได้อะไร?จากผู้ไม่เป็นพระอรหันต์ และจะได้อะไร?จากผู้ไม่บรรลุปฎิสัมภิทา

    องค์ของภิกษุผู้ไม่ควรสนทนาด้วย
    ท่านพระอุบาลีทูลถามว่า “ภิกษุทั้งหลายไม่ควรสนทนากับภิกษุผู้
    ประกอบด้วยองค์เท่าไรหนอแล พระพุทธเจ้าข้า”
    พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “อุบาลี ภิกษุทั้งหลายไม่ควรสนทนากับภิกษุผู้ประกอบ
    ด้วยองค์ ๕ องค์ ๕ คือ
    ๑. ไม่ประกอบด้วยสีลขันธ์อันเป็นอเสขะ
    ๒. ไม่ประกอบด้วยสมาธิขันธ์อันเป็นอเสขะ
    ๓. ไม่ประกอบด้วยปัญญาขันธ์อันเป็นอเสขะ
    ๔. ไม่ประกอบด้วยวิมุตติขันธ์อันเป็นอเสขะ
    ๕. ไม่ประกอบด้วยวิมุตติญาณทัสสนขันธ์อันเป็นอเสขะ

    อุบาลี ภิกษุทั้งหลายไม่ควรสนทนากับภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล”

    องค์ของภิกษุผู้ควรสนทนาด้วย
    ท่านพระอุบาลีทูลถามว่า “ภิกษุทั้งหลายควรสนทนากับภิกษุผู้ประกอบด้วย
    องค์เท่าไรหนอแล พระพุทธเจ้าข้า”
    พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “อุบาลี ภิกษุทั้งหลายควรสนทนากับภิกษุผู้ประกอบ
    ด้วยองค์ ๕ องค์ ๕ คือ
    ๑. ประกอบด้วยสีลขันธ์อันเป็นอเสขะ
    ๒. ประกอบด้วยสมาธิขันธ์อันเป็นอเสขะ
    ๓. ประกอบด้วยปัญญาขันธ์อันเป็นอเสขะ
    ๔. ประกอบด้วยวิมุตติขันธ์อันเป็นอเสขะ
    ๕. ประกอบด้วยวิมุตติญาณทัสสนขันธ์อันเป็นอเสขะ

    อุบาลี ภิกษุทั้งหลายควรสนทนากับภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล

    องค์ของภิกษุผู้ไม่ควรสนทนาด้วย อีกนัยหนึ่ง
    อุบาลี ภิกษุทั้งหลายไม่ควรสนทนากับภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อีกอย่าง
    องค์ ๕ คือ
    ๑. ไม่เป็นผู้บรรลุอัตถปฏิสัมภิทา(ปัญญาแตกฉานในอรรถ)
    ๒. ไม่เป็นผู้บรรลุธัมมปฏิสัมภิทา(ปัญญาแตกฉานในธรรม)
    ๓. ไม่เป็นผู้บรรลุนิรุตติปฏิสัมภิทา(ปัญญาแตกฉานในนิรุกติ)
    ๔. ไม่เป็นผู้บรรลุปฏิภาณปฏิสัมภิทา(ปัญญาแตกฉานในปฏิภาณ)
    ๕. ไม่พิจารณาจิตตามที่หลุดพ้นแล้ว

    อุบาลี ภิกษุทั้งหลายไม่ควรสนทนากับภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล

    องค์ของภิกษุผู้ควรสนทนาด้วย
    อุบาลี ภิกษุทั้งหลายควรสนทนากับภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ องค์ ๕ คือ
    ๑. เป็นผู้บรรลุอัตถปฏิสัมภิทา
    ๒. เป็นผู้บรรลุธัมมปฏิสัมภิทา
    ๓. เป็นผู้บรรลุนิรุตติปฏิสัมภิทา
    ๔. เป็นผู้บรรลุปฏิภาณปฏิสัมภิทา
    ๕. พิจารณาจิตตามที่หลุดพ้นแล้ว

    อุบาลี ภิกษุทั้งหลายควรสนทนากับภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล”
    ภิกขุโนวาทวรรคที่ ๘ จบ

    อรรถกถาอรรถปฏิสัมภิทาธรรมปฏิสัมภิทา
    นิรุตติปฏิสัมภิทาปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณุทเทส ว่าด้วยปฏิสัมภิทาญาณ ๔
    บัดนี้ ญาณในการละ ในการเจริญและในการกระทำพระนิพพานให้แจ้งย่อมประกอบด้วยอริยมรรคอริยผล ฉะนั้น ท่านจึงยกเอาปฏิสัมภิทาญาณ ๔ อันพระอริยบุคคลนั่นแหละจะต้องได้ ขึ้นแสดงต่อจากผัสสนญาณนั้น.

    แม้ในปฎิสัมภิทา ๔ นั้น อรรถะคือผลธรรมอันเกิดแต่ปัจจัย ย่อมปรากฏดุจทุกขสัจจะ และเป็นธรรมอันใครๆ จะพึงรู้ได้โดยง่าย เพราะฉะนั้น ท่านจึงยกอรรถปฏิสัมภิทาญาณ ขึ้นแสดงก่อน, ต่อแต่นั้นก็ยกธรรมปฏิสัมภิทาญาณขึ้นแสดง เพราะอรรถะนั้นเป็นวิสัยแห่งธรรมอันเป็นเหตุ, ต่อแต่นั้นจึงยกเอานิรุตติปฎิสัมภิทาญาณ เพราะอรรถะและธรรมทั้ง ๒ นั้นเป็นวิสัยแห่งนิรุตติ, และต่อจากนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณนั้น ท่านก็ยกเอาปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณขึ้นแสดง เพราะเป็นไปในญาณแม้ทั้ง ๓ เหล่านั้น.

    อรรถกถาวิหารัฏฐสมาปัตตัฏฐญาณุทเทส
    ว่าด้วยวิหารัฏฐญาณและสมาปัตตัฏฐญาณ
    ญาณทั้งหลายอื่นจากนี้ ๓ ญาณมีวิหารัฏฐญาณเป็นต้น ท่านยกขึ้นแสดงต่อจากปฏิสัมภิทาญาณ เพราะเกิดแก่พระอริยบุคคลเท่านั้น และเพราะเป็นประเภทแห่งปฏิสัมภิทา.
    จริงอยู่ วิหารัฏฐญาณเป็นธรรมปฏิสัมภิทา, สมาปัตตัฏฐญาณเป็นอรรถปฏิสัมภิทา.
    แท้จริง ญาณในสภาวธรรม ท่านกล่าวไว้ในปฏิสัมภิทากถาว่า๑-ธรรมปฏิสัมภิทา.
    ส่วนญาณในนิพพานเป็นอรรถปฏิสัมภิทานั่นแหละ.

    ผู้ได้พบได้เห็นพระไตรปิฏกพระธรรมคัมภีร์ธรรมแม่บท ย่อมจักเป็นผู้ได้เสวยวิมุตติธรรมตั้งแต่ระดับ วิกขัมภนวิมุตติ ตทังควิมุตติ ตลอดจนขึ้นไปถึง สมุจเฉทวิมุตติ ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ นิสสรณวิมุตติ

    ปฏิสัมภิทาญาณ เป็นกำลังที่ครอบคลุมได้ทั้งอภิญญา ๖ วิชชา ๓ และสุกขวิปัสสโก บุคคลอย่างน้อยต้องปฏิบัติจนถึงระดับพระอนาคามีขึ้นไป กำลังของปฏิสัมภิทาญาณ ๔ ถึงจะปรากฏขึ้น
    ปฏิสัมภิทาญาณนอกจากความสามารถแบบเดียวกับอภิญญา ๖ แล้ว ยังมีความสามารถพิเศษ ๔ อย่าง คือ อรรถปฏิสัมภิทา ธัมมาปฏิสัมภิทา คือเป็นผู้รู้ทั้งเหตุและผล รู้ว่าผลที่เกิดขึ้นตรงนี้ สาวไปแล้วมาจากเหตุอะไร รู้ว่าเหตุนี้ถ้าเราทำแล้วจะเกิดผลอะไร แล้วก็ละในเหตุที่ไม่ดี ทำแต่ในเหตุที่ดีเท่านั้น ก็จะได้แต่ผลที่ดี

    ปฏิภาณปฏิสัมภิทา เป็นผู้เฉลียวฉลาด สามารถที่จะแก้ไขปัญหาทุกอย่างไปโดยสะดวกง่ายดาย นิรุกติปฏิสัมภิทา มีความชำนาญในภาษาคน ภาษาสัตว์ ภาษากาย ภาษาใจทุกอย่าง ก็เลยกลายเป็นความสามารถพิเศษที่ครอบคลุมอภิญญา ๖ ไปอีกชั้นหนึ่ง พูดง่ายๆ ว่ามีมากกว่าอภิญญา ๖ อีก ๔ อย่าง

    ว่าด้วยนักพูด ๔ จำพวก
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นักพูด ๔ จำพวกนี้ ๔ จำพวกเป็นไฉน ?นักพูดย่อมจำนนโดยอรรถ แต่ไม่จำนนโดยพยัญชนะก็มี นักพูดจำนนโดยพยัญชนะแต่ไม่จำนนโดยอรรถก็มี นักพูดจำนนทั้งโดยอรรถทั้งโดยพยัญชนะก็มี นักพูดไม่จำนนทั้งโดยอรรถทั้งโดยพยัญชนะก็มี
    ดูก่อนภิกษุทั้งหลายนักพูด ๔ จำพวกนี้แล ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่ภิกษุผู้ประกอบด้วยปฏิสัมภิทา ๔ พึงถึงความจำนนโดยอรรถหรือโดยพยัญชนะ นี้ไม่ใช่ฐานะ ไม่ใช่โอกาส.
    จบวาทีสูตรที่ ๑๐
    จบปุคคลวรรคที่ ๔


    ปัญญาญาณ ๗๓ อันยิ่งใหญ่ที่สุดในโลก ในพระพุทธศาสนา ญานปฎิสัมภิทา สามารถรอบรู้ทุกคำภีร์และทุกคติความเชื่อ ญานที่ใช้ประกาศ (พรหมชาลสูตร) ทิฏฐิ ๖๒

    ไม่รู้จักปฎิสัมภิทาญาน ก็เลยตัดปัญญาญาน ที่มีปฎิสัมภิทาญานทิ้งหมด

    โมฆะบุรุษ อามิสทายาทยุคกึ่งพุทธกาลจริงๆ

    ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค

    เล่มที่ ๗ ภาคที่ ๑

    ขอนอบน้อมแด่
    พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์นั้น

    มาติกา
    ว่าด้วย ปัญญาญาณ ๗๓
    ๑. ปัญญาในการทรงจำธรรมที่ได้ฟังมาแล้ว เป็นสุตมย-
    ญาณ,
    ๒. ปัญญาในการฟังธรรมแล้วสังวรไว้ เป็นสีลมยญาณ,
    ๓. ปัญญาในการสำรวมแล้วตั้งไว้ดี เป็นภาวนามยญาณ,
    ๔. ปัญญาในการกำหนดปัจจัย เป็นธรรมฐิติญาณ,
    ๕. ปัญญาในการย่อธรรมทั้งหลาย ทั้งอดีต, อนาคต
    และปัจจุบันแล้วกำหนดไว้ เป็นสัมมสนญาณ,

    ๖. ปัญญาในการพิจารณาเห็นความแปรปรวนแห่งธรรม
    ส่วนปัจจุบัน เป็นอุทยัพพยญาณ,
    ๗. ปัญญาในการพิจารณาอารมณ์แล้วพิจารณาเห็นความ
    แตกไป เป็นวิปัสสนาญาณ,
    ๘. ปัญญาในการปรากฏโดยความเป็นภัย เป็นอาทีนว-
    ญาณ,
    ๙. ปัญญาในความปรารถนาจะพ้นไปทั้งพิจารณา และ
    วางเฉยอยู่ เป็นสังขารุเปกขาญาณ,
    ๑๐. ปัญญาในการออกและหลีกไปจากสังขารนิมิตภาย
    นอก เป็นโคตรภูญาณ,
    ๑๑. ปัญญาในการออกและหลีกไปจากกิเลส ขันธ์ และ
    สังขารนิมิตภายนอกทั้งสอง เป็นมรรคญาณ,
    ๑๒. ปัญญาในการระงับปโยคะ เป็นผลญาณ,
    ๑๓. ปัญญาในการพิจารณาเห็นอุปกิเลสนั้น ๆ อันอริย-
    มรรคนั้น ๆ ตัดเสียแล้ว เป็นวิมุตติญาณ,
    ๑๔. ปัญญาในการพิจารณาเห็นธรรมที่เข้ามาประชุมใน
    ขณะนั้น เป็นปัจจเวกขณญาณ,
    ๑๕. ปัญญาในการกำหนดธรรมภายใน เป็นวัตถุนานัตต-
    ญาณ,


    ๑๖. ปัญญาในการกำหนดธรรมภายนอก เป็นโคจรนา-
    นัตตญาณ,
    ๑๗. ปัญญาในการกำหนดจริยา เป็นจริยานานัตตญาณ,
    ๑๘. ปัญญาในการกำหนดธรรม ๔ เป็นภูมินานัตตญาณ,
    ๑๙. ปัญญาในการกำหนดธรรม ๙ เป็นธรรมนานัตตญาณ,
    ๒๐. ปัญญาที่รู้ยิ่ง เป็นญาตัฏฐญาณ,
    ๒๑. ปัญญาเครื่องกำหนดรู้ เป็นตีรณัฏฐญาณ,
    ๒๒. ปัญญาในการละ เป็นปริจจาคัฏฐญาณ,
    ๒๓. ปัญญาเครื่องเจริญ เป็นเอกรสัฏฐญาณ,
    ๒๔. ปัญญาเครื่องทำให้แจ้ง เป็นผัสสนัฏฐญาณ,
    ๒๕. ปัญญาในความต่างแห่งอรรถ เป็นอรรถปฏิสัมภิทา-
    ญาณ,
    ๒๖. ปัญญาในความต่างแห่งธรรม เป็นธรรมปฏิสัมภิทา-
    ญาณ,
    ๒๗. ปัญญาในความต่างแห่งนิรุตติ เป็นนิรุตติปฏิสัม-
    ภิทาญาณ,
    ๒๘. ปัญญาในความต่างแห่งปฏิภาณ เป็นปฏิภาณปฏิ-
    สัมภิทาญาณ,
    ๒๙. ปัญญาในความต่างแห่งวิหารธรรม เป็นวิหารรัฏฐ-
    ญาณ,


    ๓๐. ปัญญาในความต่างแห่งสมาบัติ เป็นสมาปัตตัฏฐ-
    ญาณ,
    ๓๑. ปัญญาในความต่างแห่งวิหารสมาบัติ เป็นวิหารสมา-
    ปัตตัฏฐญาณ,
    ๓๒. ปัญญาในการตัดอาสวะขาดเพราะความบริสุทธิ์แห่ง
    สมาธิอันเป็นเหตุให้ไม่ฟุ้งซ่าน เป็นอานันตริกสมาธิ-
    ญาณ,
    ๓๓. ทัสนาธีปไตย ทัสนะมีความเป็นอธิบดี วิหาราธิคม
    คุณเครื่องบรรลุคือวิหารธรรมอันสงบ และปัญญาใน
    ความที่จิตเป็นธรรมชาติน้อมไปในสมาบัติอันประ-
    ณีต เป็นอรณวิหารญาณ,
    ๓๔. ปัญญาในความเป็นผู้มีความชำนาญด้วยความเป็นผู้
    ประกอบด้วยพละ ๒ ด้วยความระงับสังขาร ๓ ด้วย
    ญาณจริยา ๑๖ และด้วยสมาธิจริยา ๙ เป็นนิโรธ
    สมาปัตติญาณ,
    ๓๕. ปัญญาในความสิ้นไปแห่งความเป็นไปแห่งกิเลส
    และขันธ์ของบุคคลผู้รู้สึกตัว เป็นปรินิพพานญาณ,
    ๓๖. ปัญญาในความไม่ปรากฏแห่งธรรมทั้งปวง ในการ
    ตัดขาดโดยชอบและในนิโรธ เป็นสมสีสัฏฐญาณ,

    ๓๗. ปัญญาในความสิ้นไปแห่งกิเลสอันหนาสภาพต่าง ๆ
    และเดช เป็นสัลเลขัฏฐญาณ,
    ๓๘. ปัญญาในความประคองไว้ซึ่งจิตอันไม่หดหู่และจิตที่
    ส่งไป เป็นวิริยารัมภญาณ,
    ๓๙. ปัญญาในการประกาศธรรมต่าง ๆ เป็นอรรถสัน-
    ทัสสนญาณ,
    ๔๐. ปัญญาในการสงเคราะห์ธรรมทั้งปวงเป็นหมวดเดียว
    กันในการแทงตลอดธรรมต่างกันและธรรมเป็นอัน
    เดียวกัน เป็นทัสสนวิสสุทธิญาณ,
    ๔๑. ปัญญาในความที่ธรรมปรากฏโดยความเป็นของไม่
    เที่ยงเป็นต้น เป็นขันติญาณ,
    ๔๒. ปัญญาในความถูกต้องธรรม เป็นปริโยคาหนญาณ,
    ๔๓. ปัญญาในการรวมธรรม เป็นปเทสวิหารญาณ,
    ๔๔. ปัญญาในความมีกุศลธรรมเป็นอธิบดี เป็นสัญญา-
    วิวัฏฏญาณ,
    ๔๕. ปัญญาในธรรมเป็นเหตุละความเป็นต่าง ๆ เป็นเจโต-
    วิวัฏฏญาณ,
    ๔๖. ปัญญาในการอธิษฐาน เป็นจิตตวิวัฏฏญาณ,
    ๔๗. ปัญญาในธรรมอันว่างเปล่า เป็นญาณวิวัฏฏญาณ,
    ๔๘. ปัญญาในความสลัดออก เป็นวิโมกขวิวัฏฏญาณ,

    ๔๙. ปัญญาในความว่าธรรมจริง เป็นสัจจวิวัฏฏญาณ,
    ๕๐. ปัญญาในความสำเร็จด้วยการกำหนดกายและจิตเข้า
    ด้วยกัน และด้วยสามารถแห่งความตั้งไว้ซึ่งสุข
    สัญญาและลหุสัญญา เป็นอิทธิวิธญาณ,
    ๕๑. ปัญญาในการกำหนดเสียงเป็นนิมิตหลายอย่างหรือ
    อย่างเดียวด้วยสามารถการแผ่วิตกไป เป็นโสตธาตุ
    วิสุทธิญาณ,
    ๕๒. ปัญญาในการกำหนดจริยาคือวิญญาณหลายอย่างหรือ
    อย่างเดียว ด้วยความแผ่ไปแห่งจิต ๓ ประเภท
    อย่างเดียวสามารถแห่งความผ่องในแห่งอินทรีย์ทั้ง-
    หลาย เป็นเจโตปริยญาณ,
    ๕๓. ปัญญาในการกำหนดธรรมทั้งหลายอันเป็นไปตาม
    ปัจจัย ด้วยสามารถแห่งความแผ่ไปแห่งกรรมหลาย
    อย่างหรืออย่างเดียว เป็นบุพเพนิวาสานุสสติญาณ,
    ๕๔. ปัญญาในความเห็นรูปนิมิตหลายอย่างหรืออย่าง
    เดียว ด้วยสามารถแห่งแสงสว่าง เป็นทิพจักขุญาณ,
    ๕๕. ปัญญาในความเป็นผู้มีความชำนาญในอินทรีย์ ๓
    ประการ โดยอาการ ๖๔ เป็นอาสวักขยญาณ,
    ๕๖. ปัญญาในอรรถว่าเป็นสิ่งที่ควรกำหนดรู้ เป็นทุกข-
    ญาณ,

    พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เล่ม ๗ ภาค ๑ - หน้าที่ 7
    ๕๗. ปัญญาในอรรถว่าเป็นสิ่งที่ควรละ เป็นสมุทยญาณ,
    ๕๘. ปัญญาในอรรถว่าเป็นสิ่งที่ควรกระทำให้แจ้ง เป็น
    นิโรธญาณ,
    ๕๙. ปัญญาในอรรถว่าเป็นสิ่งที่ควรเจริญ เป็นมรรคญาณ,
    ๖๐. ทุกขญาณ,
    ๖๑. ทุกขสมุทยญาณ,
    ๖๒. ทุกขนิโรธญาณ,
    ๖๓. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาญาณ,
    ๖๔. อรรถปฏิสัมภิทาญาณ,
    ๖๕. ธรรมปฏิสัมภิทาญาณ,
    ๖๖. นิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ,
    ๖๗. ปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณ,
    ๖๘. อินทริยปโรปริยัตตญาณ,
    ๖๙. อาสยานุสยญาณ,
    ๗๐. ยมกปาฏิหาริยญาณ,
    ๗๑. มหากรุณาสมาปัตติญาณ,
    ๗๒. สัพพัญญุตญาณ,
    ๗๓. อนาวรณญาณ.

    พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค เล่ม ๗ ภาค ๑ - หน้าที่ 8
    ญาณเหล่านี้รวมเป็น ๗๓. ญาณ, ในญาณ ๗๓ นี้ ญาณ ๖๗
    เบื้องต้น ทั่วไปแก่พระสาวก, ญาณ ๖ เบื้องปลาย ไม่ทั่วไปแก่พระ-
    สาวก และเป็นญาณเฉพาะพระตถาคตเท่านั้น ฉะนี้แล.
    จบ มาติกา
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 ธันวาคม 2018
  10. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    คึกเอ๊ยคึก

     
  11. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
     
  12. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201


    เนื้อเพลง แสงเพลิงสุดท้าย

    ดาวส่อง…คู่จันทร์ประกายวับวาววาว
    ในรัตติกาลยังมีแสงงามกระจ่างวิถี
    ค่ำคืนที่แสงแห่งไฟ ประกายสุดท้ายที่มี
    แห่งทุกชีวีจุดแสงแห่งธรรมเคียงจันทร์ดวงงาม

    *ฟ้าเปิด…ประทานแสงทองของดวงใจ
    ก่อนดับสลายสู่ควันไฟละลายคืนฟ้า
    ชีวิตของคนหนึ่งคน ผ่านพ้นจนวันลับลา
    กำเนิดขึ้นมาเพื่อโลกาจารึกสืบไป
    แสงเพลิงสุดท้ายที่เผาผลาญสังขารสิ้นไป
    แสงทองของใจเจริญส่องใสไม่มีราคี
    แสงเพลิงสุดท้ายเจียระไนสุดยอดความดี
    คือแสงชีวีที่สู่แสงแก้วแห่งพระธรรม
    แสงจันทร์ส่องฟ้าถึงอำลาในแสงสุดท้าย
    แสงธรรมฝากไว้สว่างในใจไม่เปลี่ยนแปรผัน
    แสงนวลปัญญาก่อกำเนิดค่านับอนันต์
    คือแสงแห่งธรรมเคียงคู่โลกาไม่มีสิ้นสูญ

    “สิ้นทุกข์สุขที่แท้จึงได้พบพาน สู่ทางธรรมบันดาลในชาติสุดท้าย ส่งฟ้าสู่ดินแดนที่หมดผองภัย สถิตไว้ในแดนธรรมพระนฤพาน


    (สถิตไว้เพียงความดีชั่วนิจนิรันดิ์ / สถิตไว้ในรอยธรรม พระญาณสังวร)
     
  13. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    จิตที่หลวงปู่ดูลย์ อตุโล กล่าวนั้นก็คือสภาวะอย่างเดียวกันกับของหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ซึ่งนั่นก็คือ มุตโตทัย และ ปฎิสัมภิทาญาน เป็นอย่างอื่นไม่ได้เลย 47350593_2196690643924287_6913849391719645184_n.jpg
     
  14. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
     
  15. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ล้างจิตใจให้สะอาด แบบหนึ่งเด็กน้อย ใจจึงบริสุทธิ์ได้ จะเป็นผู้ใหญ่มาก ถืออัตตาและมานะ๙ จนบ้าหรือไง เหล่าลูกศิษย์ลิ่วล้อคึก

    จะสอนอัตตาธรรม และมานะธรรมให้

    “อคโคหมสมิ โลกสส, เชฏโฐหมสมิ โลกสส, เสฏโฐหมสมิ โลกสส”

    (อาสภิวาจา ในคราวประสูติ ดู ที.ม. ๑๐/๒๖
    (ทีฆนิกาย มหาวรรค พระไตรปิฎก เล่ม ๑๐ ข้อ ๒๖); ม.อุ.๑๔/๓๗๗
    (มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ พระไตรปิฎก เล่ม ๑๔ ข้อ ๓๗๗)) แปลว่า


    “เราเป็นผู้เลิศแห่งโลก เราเป็นพี่ใหญ่แห่งโลก เราเป็นผู้ประเสริฐแห่งโลก”


    “ยทา หเว ปาตุภวนติ ธมมา”
    (พุทธอุทาน เมื่อแรกตรัสรู้นี้ ดู วินย.๔/๑-๓(วินัยปิฎก มหาวรรค พระไตรปิฎก เล่ม ๔ ข้อ ๑-๓);
    ขุ.อุ.๒๕/๓๘–๔๐ (ขุททกนิกาย อุทาน พระไตรปิฎก เล่ม ๒๕ ข้อ ๓๘–๔๐)) เป็นต้น

    มีใจความว่า

    เมื่อใดธรรมทั้งหลายปรากฏแก่บุคคลประเสริฐ
    ผู้เพียรพยายามเพ่งพินิจอยู่ เมื่อนั้นปวงความสงสัย ย่อมมลายไป
    เพราะมารู้เข้าใจถึงธรรมพร้อมทั้งเหตุของมัน

    …เพราะได้รู้ถึงภาวะที่สิ้นไปแห่งปัจจัยทั้งหลาย…
    ขจัดมารและเสนาเสียได้ ดังตะวันส่องฟ้าทอแสงจ้าอยู่ ฉะนั้น”





     
  16. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201

    11760091_281364058701001_6152618094636589814_n.jpg

    ฉิบหายใหญ่
    แล้วคึกฤทธิ์ มันสอนแบบนี้ ก็เท่ากับมันหาว่าพระสัมมาสัมพุทธเจ้า กำหนดคิดเอาเอง ค้นคว้าเอาเอง กำหนดสมาธินึกเอาเอง

    ผนวกกับ อ้างพระสูตรห้ามฟังคำสาวกภาษิต มีเถระคาถาเป็นคำแต่งใหม่ เป็นต้น

    ใช่เล่ห์ด่าทอพระมหาเถระและพระเถระ ว่าเป็นคำสั่งสอนสาวกคิดเองไม่ได้ นึกเอาเองไม่ได้ ต้องจดจำจากที่ทรงตรัสสั่งสอนเพียงเท่านั้น ต้องเดินตามเพียงเท่านั้น หาว่าสาวกภาษิตเชื่อไม่ได้ ด้วยสติปัญญาอันตื้นเขิน



    ด้วยปฎิสัมภิทาญาน
    มันจะผิดพลาดจากอะไรได้ไอ้โมฆะบุรุษ อามิสทายาท พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ทรงตรัสรู้ธรรมเสมอกัน มีแบบแผนหนึ่งเดียวกันทุกประการ แตกต่างกันเพียงแต่ละพระองค์จะแสดงธรรมมากหรือน้อยเพียงเท่านั้น แม้พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายก็ทรงเคารพพึ่งพิงพระสัทธรรมตามกันมานี้ดั่งโบราณราชธรรม เป็นพระธรรมราชา

    พระอรหันต์สาวกที่สดับธรรมและบรรลุปฎิสัมภิทานับเอาแค่ครั้งแรกสังคายนา ก็อาศัยปฎิสัมภิทาญานนี้ ถ่ายทอดตรวจสอบแล้วน้อมนำมา

    ยุคหลังๆยังไม่บรรลุปฎิสัมภิทา เป็นพระบวชใหม่ หมดปัญญาเข้าถึงปฎิสัมภิทาญาน ไม่แน่ใจในพระธรรมและพระวินัยที่ได้ยินได้ฟังมา จึงต้องอาศัยมหาประเทศ ๔ ประกอบ



    พระพุทธานุญาตมหาประเทศ ๔
    [๙๒] ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุทั้งหลายเกิดความรังเกียจในพระบัญญัติบางสิ่งบางอย่างว่า
    สิ่งใดหนอ พระผู้มีพระภาคทรงอนุญาตไว้ สิ่งไรไม่ได้ทรงอนุญาต จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่
    พระผู้มีพระภาค.
    วัตถุเป็นกัปปิยะและอกัปปิยะ
    พระผู้มีพระภาคได้ตรัสประทานสำหรับอ้าง ๔ ข้อ ดังต่อไปนี้:-
    ๑. ดูกรภิกษุทั้งหลาย สิ่งใดที่เราไม่ได้ห้ามไว้ว่า สิ่งนี้ไม่ควร หากสิ่งนั้นเข้ากับสิ่งที่
    ไม่ควร ขัดกับสิ่งที่ควร สิ่งนั้นไม่ควรแก่เธอทั้งหลาย
    ๒. ดูกรภิกษุทั้งหลาย สิ่งที่เราไม่ได้ห้ามไว้ว่า สิ่งนี้ไม่ควร หากสิ่งนั้นเข้ากับสิ่งที่ควร
    ขัดกับสิ่งที่ไม่ควร สิ่งนั้นควรแก่เธอทั้งหลาย
    ๓. ดูกรภิกษุทั้งหลาย สิ่งใดที่เราไม่ได้อนุญาตไว้ว่า สิ่งนี้ควร หากสิ่งนั้นเข้ากับสิ่งที่
    ไม่ควร ขัดกับสิ่งที่ควร สิ่งนั้นไม่ควรแก่เธอทั้งหลาย
    ๔. ดูกรภิกษุทั้งหลาย สิ่งใดที่เราไม่ได้อนุญาตไว้ว่า สิ่งนี้ควร หากสิ่งนั้นเข้ากับสิ่ง
    ที่ควร ขัดกับสิ่งที่ไม่ควร สิ่งนั้นควรแก่เธอทั้งหลาย.


    มหาปเทสสูตร ว่าด้วยมหาประเทศ ๔ [๑๘๐] สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ อานันทเจดีย์ใกล้โภคนคร ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงมหาประเทศ ๔ นี้ เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็มหาประเทศ ๔ เป็นไฉน ? ภิกษุในธรรมวินัยนี้ พึงกล่าวอย่างนี้ว่า ดูก่อนอาวุโส ข้อนี้ข้าพเจ้าได้สดับมาได้รับมาเฉพาะพระพักตร์พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า นี้เป็นธรรม นี้เป็นวินัยนี้เป็นคำสั่งสอนของพระศาสดา ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายไม่พึงยินดี ไม่พึงคัดค้านคำกล่าวของภิกษุนั้น ครั้นแล้วพึงเรียนบทและพยัญชนะเหล่านั้นให้ดี แล้วพึงเทียบเคียงในพระสูตร พึงสอบสวนในพระวินัย ถ้าเมื่อเทียบเคียงในพระสูตร สอบสวนในพระวินัย บทและพยัญชนะเหล่านั้น เทียบเคียงกันไม่ได้ในพระสูตร สอบสวนกันไม่ได้ในพระวินัย ในข้อนี้พึงลงสันนิษฐานได้ว่า นี้มิใช่คำของพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าแน่แท้ ภิกษุนี้รับมาผิดแล้ว เธอทั้งหลายพึงทิ้งคำนี้เสียทีเดียว

    อนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้พึงกล่าวอย่างนี้ว่า ดูก่อนอาวุโส ข้อนี้ข้าพเจ้าได้สดับมา ได้รับมาเฉพาะพระพักตร์พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า นี้เป็นธรรม นี้เป็นวินัย นี้เป็นคำสั่งสอนของพระศาสดา ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายไม่พึงยินดี ไม่พึงคัดค้านคำกล่าวของภิกษุนั้น ครั้นแล้วพึงเรียนบทและพยัญชนะเหล่านั้น ให้ดีแล้วเทียบเคียงในพระสูตร สอบสวนในพระวินัย ถ้าเมื่อเทียบเคียงในพระสูตร สอบสวนในพระวินัย บทและพยัญชนะเหล่านั้น เทียบเคียงกันได้ในพระสูตร สอบสวนกันได้ในพระวินัย ในข้อนี้พึงลงสันนิษฐานได้ว่านี้เป็นคำของพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าแน่แท้ และภิกษุนี้รับมาดีแล้ว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นมหาประเทศข้อที่ ๑ เธอทั้งหลายพึงทรงจำไว้.

    อนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ พึงกล่าวอย่างนี้ว่า สงฆ์อยู่ในอาวาสชื่อโน้น พร้อมทั้งพระเถระ พร้อมทั้งท่านที่เป็นประธาน ข้าพเจ้าได้สดับมาได้รับมาเฉพาะหน้าสงฆ์นั้นว่า นี้เป็นธรรม นี้เป็นวินัย นี้เป็นคำสั่งสอนของ พระศาสดา ฯลฯ


    อนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ พึงกล่าวอย่างนี้ว่า ภิกษุผู้เป็นพระเถระมากด้วยกันอยู่ในอาวาสชื่อโน้น เป็นพหูสูต ชำนาญในนิกาย ทรงธรรมทรงวินัย ทรงมาติกา ข้าพเจ้าได้สดับมา รับมาเฉพาะหน้าพระเถระเหล่านั้น... ข้าพเจ้าได้สดับมารับมาเฉพาะหน้าพระเถระเหล่านั้นว่า นี้เป็นธรรม นี้เป็นวินัย นี้เป็นคำสั่งสอนของพระศาสดา ฯลฯ

    อนึ่ง ภิกษุในธรรมวินัยนี้ พึงกล่าวอย่างนี้ว่า ภิกษุผู้เป็นเถระรูปหนึ่งอยู่ในอาวาสชื่อโน้น เป็นพหูสูต ชำนาญในนิกาย ทรงธรรม ทรงวินัยทรงมาติกา ข้าพเจ้าได้สดับมา ได้รับมาเฉพาะหน้าพระเถระรูปนั้น... ข้าพเจ้าได้สดับมา ได้รับมาเฉพาะหน้าพระเถระรูปนั้นว่า นี้เป็นธรรม นี้เป็นวินัยนี้เป็นคำสั่งสอนของพระศาสดา ฯลฯ
    บทว่า มหาปเทเส แปลว่า โอกาสใหญ่หรือข้ออ้างใหญ่ อธิบายว่าเหตุใหญ่ที่กล่าวอ้างคนใหญ่ ๆ มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น



    ไอ้อลัชชีเอ๊ย




    อรรถกถา โลมหังสชาดกว่าด้วย การแสวงหาอย่างประเสริฐ

    [​IMG]พระศาสดาทรงอาศัยพระนครเวสาลี ประทับอยู่ ณ ปาฏิการาม ทรงปรารภท่านพระสุนักขัตตะ ตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำเริ่มต้นว่า โสตตฺโต โสสีโต ดังนี้.
    [​IMG]ความพิสดารว่า สมัยหนึ่ง ท่านพระสุนักขัตตะเป็นผู้อุปัฏฐากพระศาสดา ถือบาตรจีวรตามเสด็จไป เกิดพอใจธรรมของโกรักขัตติยปริพาชก ถวายบาตรจีวรคืนพระทศพล ไปอาศัยโกรักขัตติยปริพาชก ในเมื่อโกรักขัตติยปริพาชกนั้นไปเกิดในกำเนิดอสูรพวกกาลัญชิกะ จึงสึกเป็นคฤหัสถ์ เที่ยวกล่าวติโทษพระศาสดา ตามแนวกำแพงทั้ง ๓ ในพระนครเวสาลี ว่า อุตตริมนุษยธรรม คือญาณทัสสนอันวิเศษ ซึ่งพอแก่ความเป็นพระอริยเจ้าของพระสมณโคดม ไม่มีดอก พระสมณโคดมแสดงธรรมที่ตนกำหนดนึกเอาเอง ค้นคว้าเอาตามที่สอบสวน เป็นปฏิภาณของตนเอง และธรรมที่พระสมณโคดมแสดงนั้นเล่า ก็มิได้นำไปเพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบแก่ผู้ปฏิบัติตาม.
    [​IMG]คราวนั้น ท่านพระสารีบุตรเถระเจ้าเที่ยวบิณฑบาต ได้ยินเขากล่าวติโทษเรื่อยมา กลับจากบิณฑบาตแล้ว ก็กราบทูลข้อความนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า.
    [​IMG]พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนสารีบุตร สุนักขัตตะเป็นคนมักโกรธ เป็นโมฆบุรุษ กล่าวอย่างนี้ด้วยอำนาจความโกรธเท่านั้น กล่าวอยู่ว่า ธรรมนั้นมิได้นำไปเพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบแก่ผู้ปฏิบัติตามนั้น ดังนี้ แม้ต้องอำนาจแห่งความโกรธมาก เพราะเหตุที่ไม่รู้จริง จึงกล่าวโทษเราอยู่ตลอดเวลา ก็เขาเป็นโมฆบุรุษ จึงไม่รู้คุณของเราเลย
    [​IMG]ดูก่อนสารีบุตร ที่แท้คุณพิเศษที่ชื่อว่า อภิญญา ๖ ของเราก็มี แม้ข้อนี้ ก็เป็นอุตตริมนุษยธรรมของเราเหมือนกัน
    [​IMG]พล ๑๐ ก็มี เวสารัชชญาณ ๔ ประการก็มี ญาณที่จะกำหนดรู้กำเนิดทั้ง ๔ ก็มี ญาณที่จะกำหนดรู้คติทั้ง ๕ ก็มี แม้ข้อนี้ ก็เป็นอุตตริมนุษยธรรมของเราเหมือนกัน
    [​IMG]ก็ผู้ใดกล่าวว่า เราผู้ถึงพร้อมด้วยอุตตริมนุษยธรรมเพียงเท่านี้อย่างนี้ว่า อุตตริมนุสสธรรมของพระสมณโคดม ไม่มีดอก ผู้นั้นไม่ละคำนั้น ไม่ละความคิดนั้น ไม่ถอนคืนความเห็นนั้น ย่อมถูกฝังในนรก เหมือนกับถูกจับมาฝัง ฉะนั้น
    [​IMG]ครั้นตรัสพระคุณแห่งอุตตริมนุษยธรรมที่มีในพระองค์อย่างนี้แล้ว จึงตรัสว่า ดูก่อนสารีบุตร ได้ยินว่า สุนักขัตตะเลื่อมใสในมิจฉาตบะด้วยกิริยาแห่งกรรม อันบุคคลทำได้ยากของโกรักขัตติยะ เมื่อเลื่อมใสอยู่ ก็ไม่สมควรจะเลื่อมใสในเราทีเดียว
    [​IMG]ที่จริงในที่สุดแห่งกัป ๙๑ แต่ภัททกัปนี้ เราทดลองมิจฉาตบะของลัทธิภายนอก เพื่อจะรู้ว่า สาระในตบะนั้นมีจริงหรือไม่ อยู่บำเพ็ญพรหมจรรย์อันประกอบด้วยองค์ ๔ เรากล่าวได้ว่า
    [​IMG]เป็นผู้เรืองตบะ เรืองตบะอย่างยอดเยี่ยม
    [​IMG]เป็นผู้เศร้าหมอง เศร้าหมองอย่างยอดเยี่ยม
    [​IMG]เป็นผู้น่าเกลียด น่าเกลียดอย่างยอดเยี่ยม
    [​IMG]เป็นผู้เงียบ เงียบอย่างยอดเยี่ยม ดังนี้
    [​IMG]อันพระเถระเจ้ากราบทูลอาราธนา จึงทรงนำเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :-
    [​IMG]ในอดีตกาลที่สุดแห่งกัปที่ ๙๑ พระโพธิสัตว์ดำริว่า เราจักทดลองตบะของพวกนอกลู่นอกทางดู จึงบวชเป็นอาชีวก ไม่นุ่งผ้า คลุกเคล้าด้วยธุลี เงียบฉี่อยู่คนเดียว เห็นพวกมนุษย์แล้วต้องวิ่งหนี เหมือนมฤคมีมหาวิกัติเป็นโภชนะ บริโภคโคมัยแห่งลูกโคเป็นต้น เพื่อจะอยู่ด้วยความไม่ประมาท จึงอยู่ในไพรสณฑ์เปลี่ยวตำบลหนึ่งในราวไพร เมื่ออยู่ในถิ่นนั้น เวลาหิมะตกตอนกลางคืน ออกจากไพรสณฑ์ อยู่กลางแจ้ง ชุ่มโชกด้วยน้ำหิมะ เวลากลางวันก็ทำนองเดียวกัน ให้ตนชุ่มโชกด้วยหยาดน้ำที่ไหลจากไพรสณฑ์ เสวยทุกข์แต่ความหนาว ทั้งกลางวันกลางคืนอยู่อย่างนี้
    [​IMG]อนึ่ง ในเดือนท้ายแห่งฤดูร้อน ตอนกลางวันก็ถึงความรุ่มร้อนด้วยแสงแดด ณ ที่โล่ง กลางคืนก็อย่างนั้นเหมือนกัน ถึงความรุ่มร้อนอยู่ในไพรสณฑ์ที่ปราศจากลม หยาดเหงื่อไหลออกจากสรีระ
    [​IMG]ครั้งนั้น คาถานี้ที่ไม่เคยได้ยินมาก่อนเลย ได้ปรากฏแจ่มแจ้งว่า :-
    [​IMG]"เราเร่าร้อนแล้ว หนาวเหน็บแล้ว อยู่ผู้เดียวในป่าอันน่าสะพรึงกลัว เป็นคนเปลือย ไม่ได้ผิงไฟ เป็นมุนีขวนขวายแล้ว ในการแสวงบุญ" ดังนี้.

    [​IMG]บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า โสตตฺโต ความว่า เราเร่าร้อนด้วยความแผดเผาจากดวงอาทิตย์.
    [​IMG]บทว่า โสสีโต ความว่า เราหนาวเหน็บ คือชุ่มโชกด้วยน้ำหิมะ.
    [​IMG]ด้วยบทว่า เอโก ภึสนเก วเน นี้ ท่านแสดงความว่า เราอยู่แต่ผู้เดียว ไม่มีเพื่อนเลย ในป่าชัฎอันน่าสะพรึงกลัว ถึงกับทำให้ผู้ที่เข้าไปแล้วต้องขนลุกขนพองโดยมาก.
    [​IMG]ด้วยบทว่า นคฺโค น จคฺคิมาสีโน นี้ท่านแสดงว่า เราเป็นคนเปลือย ทั้งไม่ได้ผิงไฟ แม้จะถูกลมหนาวเบียดเบียน ก็มิได้อาศัยผ้านุ่งผ้าห่มเป็นต้น และไม่ได้ผิงไฟอีกด้วย.
    [​IMG]ด้วยบทว่า เอสนาปสุโต นี้ท่านแสดงว่า แม้ในอพรหมจรรย์ ก็มีความมั่นหมายว่า เป็นพรหมจรรย์ในความเพียรนั้น คือเป็นผู้ขวนขวายพากเพียร ถึงความมั่นหมายในการแสวงหาพรหมจรรย์นั้นอย่างนี้ว่า ก็แลข้อนี้เป็นพรหมจรรย์แท้ การแสวงหา และการค้นหาเป็นอุบายแห่งพรหมโลก.
    [​IMG]ด้วยบทว่า มุนี นี้ ท่านแสดงว่า ได้เป็นผู้อันชาวโลกยกย่องอย่างนี้ว่า ท่านผู้นี้ปฏิบัติเพื่อต้องการญาณเป็นเครื่องรู้ เป็นมุนีแล.

    [​IMG]ก็พระโพธิสัตว์ประพฤติพรหมจรรย์ ประกอบด้วยองค์ ๔ อย่างนี้ เล็งเห็นลางนรกปรากฏชัดขึ้นในเวลารุ่งอรุณ ก็ทราบว่าการสมาทานวัตรนี้ไร้ประโยชน์ จึงทำลายลัทธินั้นเสีย ในขณะนั้นเอง กลับถือสัมมาทิฏฐิ เกิดในเทวโลกแล้ว.
    [​IMG]พระบรมศาสดา ครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุมชาดกว่า
    [​IMG]สมัยนั้น เราตถาคต ได้เป็นอาชีวกนั้นแล.


    สงสัยจะตกหลุมพรางที่ท่านพุทธทาสขุดดักไว้เสียแล้ว เพราะท่านคงรู้ว่าจะมีคนเอาหนังสือท่านมาหากิน
    พุทธประวัติจากพระโอษฐ์ หน้า 247


    พระองค์ทรงสามารถกำหนดสมาธิ เมื่อจะพูดทุกถ้อยคำ จึงไม่ผิดพลาด
    อัคคิเวสนะ ! เรานั้นหรือ, จำเดิมแต่เริ่มแสดง กระทั่งคำสุดท้ายแห่งการกล่าวเรื่องนั้นๆ ย่อมตั้งไว้ ซึ่งจิตในสมาธินิมิตอันเป็นภายในโดยแท้ ให้จิตดำรงอยู่ ให้จิตตั้งมั่นอยู่ กระทำให้มีจิตเป็นเอก ดังเช่นที่คนทั้งหลายเคยได้ยินว่าเรากระทำอยู่เป็นประจำ ดังนี้.
    มหาสัจจกสูตร มู.ม. ๑๒ / ๔๖๐ / ๔๓



    ตรัสการบรรลุวิชชาที่ ๒

    กับ พระสุตตันตปิฎก เล่ม 12 มู.ม. ข้อ 430

    [๔๓๐] ดูกรอัคคิเวสสนะ เรารู้เฉพาะอยู่ว่า เป็นผู้แสดงธรรมแก่บริษัทหลายร้อย.
    ถึงแม้บุคคลคนหนึ่งๆ สำคัญเราอย่างนี้บ้างว่า พระสมณโคดมแสดงธรรมปรารภเราเท่านั้น. ท่านอย่าพึงเห็นอย่างนั้น พระตถาคตย่อมแสดงธรรมแก่บุคคลเหล่านั้นโดยชอบ เพื่อประโยชน์ให้รู้แจ้งอย่างเดียว. เราประคองจิต สงบตั้งมั่น ทำให้เป็นสมาธิ ณ ภายใน ในสมาธินิมิตเบื้องต้นจนจบคาถานั้นทีเดียว เราอยู่ด้วยผลสมาธิเป็นสุญญะ ตลอดนิตยกาล.

    http://www.84000.org/tipitaka/read/v.php?B=12&A=7552&Z=7914



    ความฉิบหายของแผ่นพับ ๑๐
    ทำไมต้องพุทธวจน


    คำนำ
    ผ่านมา ๒,๕๐๐ กว่าปี ก็เกิดมีหลายสำนัก
    หลายครูบาอาจารย์ ทำให้มาตรฐานเริ่มมากในสังคม
    เริ่มหามาตรฐานกลางไม่ได้ ต่างคนต่างใช้ความเห็นของหมู่คณะ
    หรือความเห็นของผู้นำหมู่คณะของตน
    เราต้องกลับมาถามว่าหมู่คณะนั้นใช้คำของพระตถาคต
    เป็นมาตรฐานรึเปล่า พระพุทธเจ้าท่านทรงเห็นถึงปัญหานี้
    และท่านได้ตรัสกำชับในหลายๆครั้ง
    ซึ่งรวบรวมข้อความสำคัญได้ถึง ๑๐ พระสูตร
    ๑๐
    พระสูตรของความสำคัญที่ชาวพุทธต้องศึกษา
    ๑. พระองค์ทรงสามารถกำหนดสมาธิ เมื่อจะพูดทุกถ้อยคำ จึงไม่ผิดพลาด

    อัคคิเวสนะ ! เรานั้นหรือ, จำเดิมแต่เริ่มแสดง กระทั่งคำสุดท้ายแห่งการ
    กล่าวเรื่องนั้นๆ ย่อมตั้งไว้ ซึ่งจิตในสมาธินิมิตอันเป็นภายในโดยแท้ ให้จิต
    ดำรงอยู่ ให้จิตตั้งมั่นอยู่ กระทำให้มีจิตเป็นเอก ดังเช่นที่คนทั้งหลายเคย
    ได้ยินว่าเรากระทำอยู่เป็นประจำ ดังนี้.
    มหาสัจจกสูตร มู.ม. ๑๒ / ๔๖๐ / ๔๓

    http://buddhaoat.blogspot.com/p/blog-page.html
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 ธันวาคม 2018
  17. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    __6_167.jpg น่าสงสารจัง พวกลูกศิษย์ลูกหาคึกฤทธิ์

    ขอกราบนมัสการท่าน
    พุทธทาสภิกขุ


    ที่ท่านได้กระทำนิมิตขุมทรัพย์จากพระโอษฐ์ทิ้งไว้เพื่อ จัดการกับโมฆะบุรุษ อลัชชี ห้วงกึ่งพุทธกาลอย่าง คึกฤทธิ์ ให้แสดงปรากฎตนออกมา

    Y13086015-14.jpg

    ฉีกเฉพาะการศึกษาเพื่อปฎิบัติ และเพื่อผู้ที่ฉีกเองไม่เป็น และเป็นการสนองพระพุทธประสงค์



    Y13086015-4.jpg


    ที่สำคัญนั่นคือ ท่านฉีกเพื่ออะไร? ใครจะเข้าใจสิ่งนี้ได้ถ้า่ไม่คิดพิจารณาอย่างกว้างขวางที่สุด ใครจะโง่ไปเสี่ยงฉีก โดยเฉพาะผู้ประกาศตนเป็น พุทธทาส
     
  18. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    1416188305-1-o.jpg พระพุทธทาสบอกว่าอย่างไร? วิจารณ์เพื่ออะไร? ถ้าใครสานปัญหาข้อนี้ได้รู้ว่าเทวโลกคืออะไร? ปัญหาทั้งหมดอาจจะหมดไปก็ได้ และเรื่องต่างๆเป็นเรื่องจริงหมดแต่ต้องตีความตามตัวหนังสือตรงๆเป็นเรื่องของเด็กๆไม่ได้ เรากล้าวิจารณ์ถึงเรื่องอภิธรรมปิฏก (๗)ไม่ได้เพื่อจะทำลายอภิธรรมปิฏก (๗)

    ท่านว่า อภิธรรมเป็นไปในฝ่ายปริยัติ ไม่เป็นไปในฝ่ายปฎิบัติ เพียงเท่านั้น

    แล้วคึกฤทธิ์เอาคำสอนจากใครมาทำลายพระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ทิ้ง



    มาฟังพระนั่งหอน ง้องแง้ว ง้องแง้ว อะไรก็ไม่รู้


    แม้แต่คัมภีร์ปฎิสัมภิทามรรค พระพุทธทาสท่านก็เอ่ยถึง ว่าเจือด้วยพระอภิธรรม


    อภิธรรมคืออะไร @ พุทธทาสภิกขุ - namo 125

    https://topmenus.info/menu-video/vfP3oNdnfzc/อภธรรมคออะไร-พทธทาสภกข


    องค์ฌาน ๕ เป็นปฏิปักษ์ต่อนิวรณธรรม ๕ โดยวิตกเจตสิกจรดที่อารมณ์ซึ่งทำให้จิตสงบได้ และวิจารเจตสิกตามประคองอารมณ์ที่วิตกเจตสิกจรดลง ทำให้จิตไม่ฟุ้งซ่านไปสู่อารมณ์อื่น ปีติเจตสิกเป็นสภาพที่เอิบอิ่ม สุขเวทนาเพิ่มพูนยิ่งขึ้นตามความเอิบอิ่ม และเอกัคคตาที่องค์ฌาน ๔ อุปการะอุดหนุนแล้ว ตั้งมั่นคงในอารมณ์โดยอาการของปฐมฌานที่ประกอบด้วยองค์ ๕



    องค์ฌาน ๕ เป็นปฏิปักษ์ต่อนิวรณธรรม ๕ ดังนี้

    ๑. วิตกเจตสิก เป็นปฏิปักษ์ต่อถีนมิทธนิวรณ์ เพราะเมื่อวิตกเจตสิกตรึกถึงแต่อารมณ์ของสมถภาวนามากขึ้นเรื่อยๆ ความท้อถอย หดหู่ และความง่วงเหงาก็ย่อมเกิดไม่ได้

    ๒. วิจารเจตสิก เป็นปฏิปักษ์ต่อวิจิกิจฉานิวรณ์ เมื่อวิจารเจตสิกประคองอารมณ์ตามวิตกเจตสิกที่จรดลงในอารมณ์ของสมถภาวนาไปเรื่อยๆ ความสงสัยความไม่แน่ใจในสภาพธรรม และในเหตุผลของสภาพธรรมก็เกิดไม่ได้

    ๓. ปีติเจตสิก เป็นปฏิปักษ์ต่อพยาปาทนิวรณ์ เมื่อความสงบในอารมณ์ของสมถภาวนาเพิ่มขึ้น ปีติก็เอิบอิ่มในความสงบนั้นยิ่งขึ้น ทำให้ความพยาบาทขุ่นเคืองใจเกิดไม่ได้ในระหว่างนั้น

    ๔. สุข (โสมนัสสเวทนา) เป็นปฏิปักษ์ต่ออุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์ เมื่อกำลังเป็นสุขในอารมณ์ของ สมถภาวนาอยู่ ความเดือดร้อนใจ กังวลใจ และความฟุ้งซ่านในอารมณ์อื่นก็เกิดไม่ได้ เพราะกำลังเป็นสุขในสมถอารมณ์ในขณะนั้น

    ๕. เอกัคคตาเจตสิก เป็นปฏิปักษ์ต่อกามฉันทนิวรณ์ เพราะเมื่อสมาธิตั้งมั่นในอารมณ์ของสมถภาวนา แล้วก็ไม่ยินดีในกามอารมณ์ใดๆ


    พระอภิธรรมปิฎกมีอยู่ ทั้ง สิ้น ๔๒,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ แบ่งออกเป็น ๗ คัมภีร์ เรียกโดยย่อว่า สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ (หัวใจพระอภิธรรม) ได้แก่

    ๑. คัมภีร์ธัมมสังคณี ว่าด้วยธรรมะที่ประมวลไว้ เป็น หมวดเป็นกลุ่ม เรียกว่า กัณฑ์ มี ๔ กัณฑ์ คือ

    ๑) จิตตวิภัตติิกัณฑ์ แสดงการจำแนกจิตและเจตสิก เป็น ต้น

    ๒) รูปวิภัตติกัณฑ์ แสดงการจำแนกรูปเป็นต้น

    ๓) นิกเขปราสิกัณฑ์ แสดงธรรมที่เป็นแม่บท (มาติกา) ของปรมัตถธรรม

    ๔) อัตถุทธารกัณฑ์ แสดงการจำแนกเนื้อความตาม แม่ บท ของปรมัตถธรรม

    ๒. คัมภีร์วิภังค์ แสดงการจำแนกปรมัตถธรรมออกเป็น ข้อ ๆ แบ่งออกเป็น ๑๘ วิภังค์ เช่น จำแนกขันธ์ (หมายถึง ขันธ์ ๕ อันประกอบด้วย รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ รูปขันธ์ ก็คือ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ เป็นเจตสิก ส่วนวิญญาณขันธ์ ก็คือ จิต ดังนั้น ขันธ์ ๕ ก็คือ จิต เจตสิก รูป นั่นเอง) เรียกว่า ขันธวิภังค์

    ๓. ธาตุกถา แสดงการจัดหมวดหมู่ของปรมัตถธรรมโดยสงเคราะห์ด้วย ธาตุ (ธรรมชาติที่ ทรงไว้ซึ่งสภาพของตน)

    ๔. คัมภีร์ปุคคลบัญญัติ ว่าด้วยบัญญัติ ๖ ประการและแสดงรายละเอียดเฉพาะบัญญัติอัน เกี่ยวกับบุคคล

    ๕. คัมภีร์กถาวัตถุ ว่าด้วยคำถามคำตอบประมาณ ๒๑๙ หัวข้อ อันถือเป็นหลักในการตัดสินพระธรรมวินัย

    ๖. คัมภีร์ยมก ในคัมภีร์นี้จะยกหัวข้อปรมัตถธรรมขึ้นวินิจฉัยด้วยวิธีถามตอบ โดยตั้งคำถามย้อนกันเป็นคู่ ๆ

    ๗. คัมภีร์มหาปัฏฐาน แสดงเหตุปัจจัยและแสดงความ สัมพันธ์ อันเป็นเหตุ เป็นผลที่อิงอาศัยซึ่งกันและกันแห่งปรมัตถธรรมทั้งปวงโดยพิสดาร

    สรุปแล้ว พระอภิธรรมก็คือ ธรรมะหมวดที่ ๓ ในพระไตรปิฎกที่สอนให้รู้จักธรรมชาติอัน แท้จริงที่มีอยู่ในตัวเราและสัตว์ทั้งหลายอันได้แก่จิต เจตสิก รูป และรู้จักพระนิพพานซึ่งเป็นจุดหมาย อันสูงสุดในพระพุทธศาสนา

    ธรรมชาติ ทั้ง ๔ คือ จิต เจตสิก รูป นิพพานนี้รวมเรียกว่า ปรมัตถธรรม หากแปลตามศัพท์ คำว่า อภิธัมม หรือ อภิธรรม แปลว่า ธรรมอันประเสริฐ ธรรมอันยิ่ง ธรรมที่อยู่แท้จริงปราศจากสมมุติ เนื้อความในพระอภิธรรมเกือบทั้งหมด จะกล่าวถึงปรมัตถธรรมล้วน ๆ โดยไม่มี บัญญัติธรรม (สมมุติโวหาร) เข้ามาเกี่ยวข้อง

    บทที่ ๑ พระสังคิณี

    กุ สะลา ธัมมา อะกุสะลา ธัมมา อัพยากะตา ธัมมา, กะตะเม ธัมมา กุสะลา, ยัสมิง สะมะเย กามาวะจะรัง กุสะลัง จิตตัง อุปปันนัง โหติ โสมะนัสสะสะหะคะตัง ญาณะสัมปะยุตตัง รูปารัมมะณัง วา สัททารัมมะณัง วา คัณธารัมมะณัง วา ระสารัมมะนัง วา... โผฏฐัพพา รัมมะณังวา ธัมมา รัมมะณัง วา ยัง ยัง วา ปะนะรัพภะ ตัสมิงสะมะเย ผัสโส โหติ อะวิเข โป โหติ เย วา ปะนะ ตัสมัง สะมะเย อัญเญปิ อัตถิ ปฏิจจะสะมุปปันนา อรูปิโน ธัมมา อิเม ธัมมา กุสะลา.

    พระสังคิณี (แปล)

    ธรรมทั้งหลายที่เป็นกุศล ธรรมทั้งหลายที่เป็นอกุศล ธรรมทั้งหลายที่เป็นอัพยากฤต ธรรมเหล่าไหนเป็นกุศล ในสมัยใด กามาวจรกุศลจิตที่สหรคตด้วยโสมนัส สัมปยุคด้วยญาณเกิดขึ้น ปรารภอารมณ์ใดๆ จะเป็นรุปารมณ์ก็ดี สัททารมณ์ก็ดี คันธารมณ์ก็ดี รสารมณ์ก็ดี โผฏฐัพพารมณ์ก็ดี ธรรมารมณ์ก็ดี ในสมัยนั้น ผัสสะ ความฟุ้งซ้านย่อมมี อีกอย่างหนึ่งในสมัยนั้น ธรรมเหล่าใดแม้อื่น มีอยู่ เป็นธรรมที่ไม่มีรูป อาศัยกันและกันเกิดขึ้น ธรรมเหล่านี้เป็นกุศล.

    บทที่ ๒ พระวิภังค์

    ปัญจักขันธา รูปักขันโธ เวทะนากขันโธ สัญญากขันโธ สังขารักขันโธ วิญญาณักขักขันโธ, ตัตถะ กะตะโม รูปักขันโธ, ยังกิญจิ รูปัง อะตีตานาคะ ตะปัจจุปปันนัง อัชฌัตตัง วา พะหิตธา วา โอฬาริกัง วา สุขุมัง วา ทีนัง วา ปะณีตัง วา ยัง ทูเร... วา สันติเก วา ตะเทกัชฌัง อภิสัญญูหิตวา อภิสังขิปิตวา อะยัง วุจจะติ รูปักขันโธ.

    พระวิภังค์ (แปล)

    ขันธ์ ๕ คือ รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ บรรดาขันธ์ทั้งหมด รูปขันธ์เป็นอย่างไร รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เป็นอดีต อนาคต ปัจจุปัน ภายในก็ตาม หยาบก็ตาม ละเอียดก็ตาม เลวก็ตาม ประณีตก็ตาม อยู่ไกลก็ตาม อยู่ใกล้ก็ตาม นั้นกล่าวรวมกันเรียกว่ารูปขันธ์

    บทที่ ๓ พระธาตุกะถา

    สังคะโห อะสังคะโห, สังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง อะสังคะหิเตนะ สังคะหิตัง สังคะหิเตนะ สังคะหิตัง อะสังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง สัมปะโยโค วิปปะโยโค, สัมปะยุตเตนะ วิปปะยุตตัง วิปปะยุตเตนะ สัมปะยุตตัง อะสังคะหิตัง.

    พระธาตุกะถา (แปล)

    การสงเคราะห์ การไม่สงเคราะห์ คือ สิ่งที่ไม่ให้สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้ สิ่งที่สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์ได้ สิ่งที่ไม่สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้ การอยู่ ด้วย กัน การพลัดพรากคือ การพลัดพรากจากสิ่งที่อยู่ ด้วย กัน การอยู่ร่วมกับสิ่งที่พลัดพรากไปจัดเป็นสิ่งที่สงเคราะห์ ไม่ได้.

    บทที่ ๔ พระปุคคะละปัญญัตติ

    ฉะ ปัญญัตติโย ขันธะปัญญัติ อายะตะนะปัญญัตติ ธาตุปัญญัตติ สัจจะปัญญัตติ อินทริยะปัญญัตติ ปุคคะละปัญญัตติ, กิตตาวะตา ปุคคะลานัง ปุคคะละปัญญัตติ, สะมะยะวิมุตโต อะสะมะยะวิมุตโต กุปปะธัมโม อะกุปปะธัมโม ปะริหานะธัมโม อะป...ะริ หานะธัมโม เจตะนา ภัพโพ อนุรักขะนาภัพโพ ปุถุชชะโน โคตระภู ภะยูปะระโต อะภะยูปะระโต ภัพพาคะมะโน อะภัพพาคะมะโน นิยะโต อะนิยะโต ปฏิปันนะโก ผะเลฏฐิโต อะระหา อะระหัตตายะ ปฏิปันโน.

    พระปุคคะละปัญญัตติ (แปล)

    บัญญัติ ๖ คือ ขันธบัญญัติ อายตนบัญญัติ ธาตุบัญญัติ สัจจบัญญัติ อินทรีย์บัญญัติ บุคคลบัญญัติ บุคคลบัญญัติของบุคคลมีเท่าไร มีการพ้นจากสิ่งที่ควรรู้ การพ้นจากสิ่งที่ไม่ควรรู้ ผู้มีธรรมที่กำเริบได้ ผู้มีธรรมที่กำเริบไม่ได้ ผู้มีธรรมที่เสื่อมได้ ผู้มีธรรมที่เสื่อมไม่ได้ ผู้มีธรรมที่ควรแก่เจตนา ผู้มีธรรมที่ควรแก่การรักษา ผู้ที่เป็นปุถุชน ผู้รู้ตระกูลโคตร ผู้เข้าถึงภัย ผู้เข้าถึงอภัย ผู้ไม่ถึงสิ่งที่ควร ผู้ไม่ถึงสิ่งที่ไม่ควร ผู้เที่ยง ผู้ไม่เที่ยง ผู้ปฏิบัติ ผู้ตั้งอยู่ในผล ผู้เป็นพระอรหันต์ ผู้ปฏิบัติเพื่อพระอรหันต์.

    บทที่ ๕ พระกถาวัตถุ

    ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ อามันตา, โย สัจฉิกัตโถ ปะระมัตโถ ตะโต โส ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ, นะ เหวัง วัตตัพเพ, อาชานาหิ นิคคะหัง หัญจิ ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนะ เตนะ ว...ะตะ เร วัตตัพเพ โย สัจฉิกัตโถ ปะระมัตโถ ตะโต โส ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ, มิจฉา.

    พระกถาวัตถุ (แปล)

    (ถาม) ค้นหาบุคคลไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือ ความหมายที่แท้จริงหรือ

    (ตอบ) ใช่... ค้นหาบุคคลไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือ โดยความหมายที่แท้จริง

    (ถาม) ปรมัตถ์ คือ ความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่ ค้นหาบุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือโดยความหมายอันแท้จริงอันนั้นหรือ

    (ตอบ) ท่านไม่ควรกล่าวอย่างนี้ ท่านจงรู้นิคคะหะเถิด ว่าท่านค้นหาบุคคลไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือ โดยความหมายอันแท้จริงแล้ว ท่านก็ควรกล่าวด้วยเหตุนั้นว่า ปรมัตถ์คือความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่ เราค้นหาบุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือโดยความหมายอันแท้จริงนั้น คำตอบของท่านที่ว่า ปรมัตถ์คือความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่ เราค้นหาบุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์คือ โดยความหมายอันแท้จริงนั้นจึงผิด.

    บทที่ ๖ พระยะมะกะ

    เย เกจิ กุสะลา ธัมมา สัพเพ เต กุสะลามูลา, เย วา ปะนะ กุสะละมูลา สัพเพ เต ธัมมา กุสะลา, เย เกจิ กุสะลา ธัมมา สัพเพ เต กุสะละมูเลนะ เอกะมูลา, เย วา ปะนะ กุสะละมูเลนะ เอกะมูลา สัพเพ เต ธัมมา กุสะลา.

    พระยะมะกะ (แปล)

    ธรรมบางเหล่าเป็นกุศล ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีกุศลเป็นมูล อีกอย่าง ธรรมเหล่าใดมีกุศลเป็นมูล ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดก็เป็นกุศล ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีอันเดียวกับธรรมที่มีกุศลเป็นมูล อีกอย่างหนึ่ง ธรรมเหล่าใดมีมูลอันเดียวกับธรรมที่เป็นกุศล ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศล.

    บทที่ ๗ พระมหาปัฏฐาน

    เหตุปัจจะโย อารัมมะณะปัจจะโย อธิปะติปัจจะโย อนันตะระปัจจะโย สะมะนันตะระปัจจะโย สะหะชาตะปัจจะโย อัญญะมัญญะปัจจะโย นิสสะยะปัจจะโย อุปะนิสสะยะปัจจะโย ปุเรชาตะปัจจะโย ปัจฉาชาตะปัจจะโย อาเสวะนะปัจจะโย กัมมะปัจจะโย วิปากาปัจจะ...โย อาหาระปัจจะโย อินทริยะปัจจะโย ฌานะปัจจะโย มัคคะปัจจะโย สัมปะยุตตะปัจจะโย วิปปะยุตตะปัจจะโย อัตถิปัจจะโย นัตถิปัจจะโย วิคะตะปัจจะโย อะวิคะตะปัจจะโย.

    พระมหาปัฏฐาน (แปล)

    ธรรมที่มีเหตุเป็นปัจจัย ธรรมที่มีอารมณ์เป็นปัจจัย ธรรมที่มีอธิบดีเป็นปัจจัย ธรรมที่มีปัจจัยหาที่สุดมิได้ ธรรมที่มีปัจจัยมีที่สุดเสมอกัน ธรรมที่เกิดพร้อมกับปัจจัย ธรรมที่เป็นปัจจัยของกันและกัน ธรรมที่มีนิสัยเป็นปัจจัย ธรรมที่มีธรรมเกิดก่อน เป็น ปัจ จัย ธรรมที่มีธรรมเกิดภายหลัง เป็น ปัจ จัย ธรรมที่มีการเสพเป็นปัจจัย ธรรมที่มีกรรมเป็นปัจจัย ธรรมที่มีวิบากเป็นปัจจัย ธรรมที่มีอาหารเป็นปัจจัย ธรรมที่มีอินทรีย์เป็นปัจจัย ธรรมทีมีฌานเป็นปัจจัย ธรรมที่มีมรรคเป็นปัจจัย ธรรมที่มีการประกอบเป็นปัจจัย ธรรมที่มีการอยู่ไม่ปราศจากเป็นปัจจัย ธรรมที่มีปัจจัย ธรรมที่ไม่มีปัจจัย ธรรมที่มีการอยู่ปราศจากเป็นปัจจัย ธรรมที่ไม่มีการอยู่ปราศจากเป็นปัจจัย.

    อภิธรรม๗คัมภีร์ ก็ได้ระบุสูญญตา อยู่แล้ว ฉนั้นจึงไม่ใช่ฐานะเลยที่จะทำลาย พระอภิธรรมทิ้ง ทั้งๆที่เป็นการแสดงธรรมเรื่องเดียวกัน แต่มีวิธีการปฎิบัติแตกต่างกัน

    และก็มีวิปัสสนาอยู่ด้วยอยู่แล้ว หาได้ไร้เรื่องวิปัสสนา


    พระอภิธรรมปิฎก

    พระอภิธรรมปิฎก หรือเรียกสั้น ๆ ว่า พระอภิธรรม เป็นหมวดที่ประมวลพุทธพจน์อันเกี่ยวกับหลักธรรมที่เป็นวิชาการว่าด้วยเรื่องของปรมัตถธรรม (มี ๔ ประการ อันได้แก่ จิต เจตสิก รูป และนิพพาน) (สภาวธรรม) ล้วน ๆ ยกตัวอย่าง เช่นเมื่อกล่าวถึงบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ทางพระอภิธรรมถือว่าบุคคลนั้นไม่มี มีแต่สิ่งซึ่งเป็นที่ประชุมรวมกันของ จิต เจตสิก รูป เท่านั้น ส่วนที่เรียกชื่อว่า นาย ก นาย ข นั้นเรียกโดยสมมุติโวหารเท่านั้น ดังนั้น ธรรมะในหมวดนี้จึงไม่มีเรื่องราวของบุคคล เหตุการณ์ หรือสถานที่ซึ่งเป็นสิ่งสมมุติเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยเลย


    พระอภิธรรมปิฎกมีอยู่ทั้งสิ้น ๔๒,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ แบ่งออกเป็น ๗ คัมภีร์ เรียกโดยย่อว่า สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ (หัวใจพระอภิธรรม) ได้แก่

    ๑ คัมภีร์ธัมมสังคณี ว่าด้วยธรรมะที่ประมวลไว้เป็นหมวดเป็นกลุ่ม เรียกว่า กัณฑ์ มี ๔ กัณฑ์ คือ
    ๑) จิตตวิภัตติกัณฑ์ แสดงการจำแนกจิตและเจตสิกเป็นต้น
    ๒) รูปวิภัตติกัณฑ์ แสดงการจำแนกรูปเป็นต้น
    ๓) นิกเขปราสิกัณฑ์ แสดงธรรมที่เป็นแม่บท (มาติกา) ของปรมัตถธรรม
    ๔) อัตถุทธารกัณฑ์ แสดงการจำแนกเนื้อความตามแม่บทของปรมัตถธรรม

    ๒ คัมภีร์วิภังค์ แสดงการจำแนกปรมัตถธรรมออกเป็นข้อ ๆ แบ่งออกเป็น ๑๘ วิภังค์ เช่น จำแนกขันธ์ (หมายถึง ขันธ์ ๕ อันประกอบด้วย รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ รูปขันธ์ ก็คือ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ เป็นเจตสิก ส่วนวิญญาณขันธ์ ก็คือ จิต ดังนั้น ขันธ์ ๕ ก็คือ จิต เจตสิก รูป นั่นเอง) เรียกว่า ขันธวิภังค์

    ๓ ธาตุกถา แสดงการจัดหมวดหมู่ของปรมัตถธรรมโดยสงเคราะห์ด้วย ธาตุ (ธรรมชาติที่ ทรงไว้ซึ่งสภาพของตน)
    ๔ คัมภีร์ปุคคลบัญญัติ ว่าด้วยบัญญัติ ๖ ประการและแสดงรายละเอียดเฉพาะบัญญัติอัน เกี่ยวกับบุคคล
    ๕ คัมภีร์กถาวัตถุ ว่าด้วยคำถามคำตอบประมาณ ๒๑๙ หัวข้อ อันถือเป็นหลักในการตัดสินพระธรรมวินัย
    ๖ คัมภีร์ยมก ในคัมภีร์นี้จะยกหัวข้อปรมัตถธรรมขึ้นวินิจฉัยด้วยวิธีถามตอบ โดยตั้งคำถามย้อนกันเป็น
    คู่ ๆ
    ๗ คัมภีร์มหาปัฏฐาน แสดงเหตุปัจจัยและแสดงความสัมพันธ์อันเป็นเหตุ เป็นผลที่อิงอาศัยซึ่งกันและกันแห่งปรมัตถธรรมทั้งปวงโดยพิสดาร

    สรุปแล้ว พระอภิธรรมก็คือ ธรรมะหมวดที่ ๓ ในพระไตรปิฎกที่สอนให้รู้จักธรรมชาติอัน แท้จริงที่มีอยู่ในตัวเราและสัตว์ทั้งหลายอันได้แก่จิต เจตสิก รูป และรู้จักพระนิพพานซึ่งเป็นจุดหมาย อันสูงสุดในพระพุทธศาสนา
    ธรรมชาติทั้ง ๔ คือ จิต เจตสิก รูป นิพพานนี้รวมเรียกว่า ปรมัตถธรรม หากแปลตามศัพท์ คำว่า อภิธัมม หรือ อภิธรรม แปลว่า ธรรมอันประเสริฐ ธรรมอันยิ่ง ธรรมที่อยู่แท้จริงปราศจากสมมุติ เนื้อความในพระอภิธรรมเกือบทั้งหมด จะกล่าวถึงปรมัตถธรรมล้วน ๆ โดยไม่มี บัญญัติธรรม (สมมุติโวหาร) เข้ามาเกี่ยวข้อง ดังนั้นจึงอยากให้ทำความเข้าใจไว้ในเบื้องต้นก่อนว่า ปรมัตถธรรมและบัญญัติธรรม นั้นต่างกันอย่างไร


    พระอภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณี เล่ม ๑ ภาค ๑ - หน้าที่ 615
    คำว่า สุญญตา นี้เป็นชื่อของโลกุตรมรรค จริงอยู่ โลกุตรมรรคนั้น ย่อมได้ชื่อเพราะเหตุ ๓ อย่าง คือ เพราะการบรรลุ ๑ เพราะคุณของตน ๑ เพราะอารมณ์ ๑.
    ถามว่า ข้อนี้ เป็นอย่างไร ?
    ตอบว่า ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้อาศัยอยู่โดยความเป็นอนัตตาย่อมเห็นสังขารโดยความเป็นอนัตตา แต่ธรรมดาว่า การออกจากสังขตธรรมด้วยมรรค (มรรควุฏฐานะ) ย่อมไม่มีโดยเพียงเห็นโดยความเป็นอนัตตาเท่านั้นการเห็นโดยความเป็นของไม่เที่ยงบ้าง โดยความเป็นทุกข์บ้าง จึงสมควรเพราะฉะนั้น เธอจึงยกขึ้นสู่อนุปัสสนา ๓ อย่าง คือ อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา แล้วพิจารณาอยู่ท่องเที่ยวไป ก็วิปัสสนาอันเป็นวุฏฐานคามินีของภิกษุนั้น ย่อมเห็นสังขารทั้งหลายแม้อันเป็นไปในภูมิ ๓ โดยความเป็นของสูญ(ว่างเปล่า) ทีเดียว วิปัสสนานี้ชื่อว่า สุญญตา วิปัสสนานั้นดำรงอยู่ในฐานะที่ควรบรรลุ จึงให้ชื่อมรรคของตนว่า สุญญตะ มรรคย่อมได้ชื่อว่า สุญญตะเพราะการบรรลุด้วยประการฉะนี้. แต่เพราะมรรคนั้นสูญจากราคะเป็นต้นฉะนั้น จึงได้ชื่อว่า สุญญตะ ด้วยคุณของตน. แม้พระนิพพาน ท่านก็เรียกชื่อว่า สุญญตะ เพราะเป็นสภาวะสูญจากราคะเป็นต้น. มรรคย่อมได้ชื่อสุญญตะ โดยอารมณ์เพราะความที่มรรคนั้นทำพระนิพพานให้เป็นอารมณ์เกิดขึ้น.
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 ธันวาคม 2018
  19. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    เพราะเหตุใด คึกฤทธิ์จึงได้ชักนำเอา โพธิปักขิยธรรม มาเป็นพระอภิธรรมแทน และถือดีอะไรไปทำลายพระอภิธรรมปิฏกทิ้ง ด้วยความเย้ยหยัน

    ยกตัวอย่างย้อนศรให้ก็พอ ในพุทธศตวรรษที่๑-๓ สังฆมณฑลในอินเดียแตกออกเป็น ๑๘ นิกาย และยังมีนิกายย่อยอีกมาก และก็ต่างนิกาย ต่างก็มีพระอภิธรรมปิฏกไม่ซ้ำกับใคร บางนิกายก็ไม่อาจจะทราบได้ว่าไม่ซ้ำหรือซ้ำกันอย่างนิกายโคกุลิกะ ที่ยึดถือพระอภิธรรมเป็นเอกไม่มีคัมภีร์อื่นประกอบ แต่ในทุกๆคัมภีร์ส่วนใหญ่ ที่กล่าวว่าเป็นการรจนาของพระมหาสาวกและพระเถระสาวกทั้งหลาย ก็ได้กล่าวถึง จิต เจตสิก รูป ด้วยกันทั้งนั้น ฉนั้นจะเหมารวมเอาแต่ความแตกต่างของการเรียบเรียงที่ไม่เหมือนกัน ก็ยังนำมาวินิจฉัยว่า ไม่มีความเหมือนหรือคล้ายคลึงการไม่ได้ เพราะเป็นระดับธรรมขั้นปรมัตถ์ ที่ต้องใช้ทั้ง ปริยัติ ปฎิบัติ ปฎิเวธ เข้าไปพิจารณาอย่างลึกซึ้งให้รู้ให้เห็นจริง ถึงขนาด ชี้ดวงจิต เจตสิก แยกเป็นดวงต่อดวงไป

    ท่าน อ.เสถียร โพธินันทะ ยังให้ความเห็นว่า ไม่ควรที่จะละทิ้งอภิธรรมปิฏก ๗ คัมภีร์ จะขาดแม้พระไตรปิฏกใดแม้สักหนึ่งก็ไม่ได้ หากผู้ใดต้องการเป็นนักคิดนักค้นคว้าทางพระไตรปิฏก ยิ่งต้องศึกษาพระอภิธรรม๗คัมภีร์นี้

    แม้ในพระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ก็เจือด้วยโพธิปักขิยะธรรม

    และในทางกลับกัน พระอรรถกถาจารย์ก็ได้แก้ไว้แล้วซึ่งโพธิปักขิยธรรมเฉกเช่นเดียวกัน ว่าเป็นพระอภิธรรม

    สรุปก็อาศัยพระอรรถกถาจารย์แต่งแก้ไว้ทั้งคู่ แต่พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์จะดูลึกลับซับซ้อนยิ่งกว่า ก็อย่าลืมว่าก่อนสังคายนาพระธรรมคำสั่งสอน ก็ได้มีการจำลองการทำสังคายนาตามพุทธดำรัสต่อหน้าพระพักตร์มาแล้ว ฉนั้นจะกล่าวว่า พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์นี้ พระมหาสาวกแต่งขึ้นมาเองเสียเปล่าๆ เพื่อให้เกิดความไขว่เขวในสังฆมณฑล ก็ใช่จะนำมาวิสัชนาในทางนั้นได้ ด้วย องค์คุณของ ปฎิสัมภิทาญานแล้วไซร้ ชนิดที่ว่า ไม่เคยมีผู้บันทึกคุณข้อนี้ไว้ตามแบบที่ ผู้ร่ำเรียนเขียนอ่านจะถือเข้าใจได้เลยว่าทำไมบทธรรมขององค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า จึงตรงกันกับของพระมหาสาวกแสดง ก็ด้วยญานอันประเสริฐคือ ปฎิสัมภิทาญาน อันนั้นแลฯ


    ฉนั้น โพธิปักขิยะธรรม ๓๗ จะเป็นพระอภิธรรมภาคปฎิบัติและปริยัติแขนงหนึ่ง หรือพระอภิธรรม๗คัมภีร์เป็นภาคปริยัติและปฎิบัติอีกแขนง

    ก็สามารถวิสัชนาอย่างนั้นได้ โดยไม่ต้องถือวิสาสะทำลาย พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ทิ้ง อย่างที่ สำนักพุทธวจน นำโดยคึกฤทธิ์และสาวกตัวป่วนนั้นกล่าวมา จึงเป็นการกระทำที่ผิดหลักวัตถุประสงค์ของ ท่านพุทธทาสและท่าน อ.เสถียร โพธินันทะ อย่างเห็นได้ชัด

    แล้วที่นี้ คึกฤทธิ์และสาวกไปลอกคำภีร์ไหนมา และถือดีอะไรไปทำลายพระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ทิ้ง

    แบบนี้ก็เป็นการถือดีอหังการมาก บ้าเกินที่จะเยียวยาไปแล้ว




    ลอกของเขามาแต่ก็ยำของเขาเละ อีกแล้วครับท่าน
    อภิธรรมเป็นพุทธพจน์หรือ - อาจารย์เสถียร โพธินันทะ



    โพธิปักขิยธรรม คือ ธรรมอันเป็นฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้ ประกอบด้วยธรรมะ 7 หมวด คือ สติปัฏฐาน 4, สัมมัปปธาน 4, อิทธิบาท 4, อินทรีย์ 5, พละ 5, โพชฌงค์ 7, มรรคมีองค์ 8 รวมเป็น 37 จึงเรียกว่า โพธิปักขิยธรรม 37


    1.) สติปัฏฐาน 4 คือ การเจริญสติระลึกรู้
    1. กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือ การหมั่นคิดใคร่ครวญโดยเน้นที่เรื่องรูปธรรม
    2. เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือ การหมั่นคิดใคร่ครวญโดยเน้นที่เรื่องนามธรรมในส่วนความรู้สึกจากสัมผัส
    3. จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือ การหมั่นคิดใคร่ครวญโดยเน้นที่เรื่องนามธรรมในส่วนของการรับรู้
    4. ธรรมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือ การหมั่นคิดใคร่ครวญโดยเน้นทุกเรื่องทั้งรูปธรรมและนามธรรม

    2.) สัมมัปปธาน 4 คือ ความเพียรพยายาม
    1. สังวรปธาน คือ เพียรระวังยับยั้งบาปอกุศลธรรมที่ยังไม่เกิด มิให้เกิดขึ้น
    2. ปหานปธาน คือ เพียรละบาปอกุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้ว
    3. ภาวนาปธาน คือ เพียรทำกุศลธรรมที่ยังไม่เกิด ให้เกิดมีขึ้น
    4. อนุรักขนาปธาน คือ เพียรรักษากุศลธรรมที่เกิดขึ้นแล้วให้ตั้งมั่น

    3.) อิทธิบาท 4 คือ ทางแห่งความสำเร็จในกิจอันเป็นกุศล
    1. ฉันทะ คือ ความพอใจและเต็มใจ
    2. วิริยะ คือ ความเพียรพยายาม
    3. จิตตะ คือ ความเอาใจใส่ จิตใจจดจ่อ ไม่ปล่อยใจให้ฟุ้งซ่าน
    4. วิมังสา คือ ปัญญาที่พิจารณาใคร่ครวญ หาเหตุผล เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น

    4.) อินทรีย์ 5 คือ ธรรมที่ทำหน้าที่เป็นใหญ่ในอารมณ์
    1. สันธินทรีย์ คือ ความศรัทธาเป็นใหญ่
    2. วิริยินทรีย์ คือ ความเพียรเป็นใหญ่
    3. สตินทรีย์ คือ สติที่ระลึกรู้ในอารมณ์ปัจจุบันเป็นใหญ่
    4. สมาธินทรีย์ คือ การทำจิตให้เป็นสมาธิตั้งมั่นจดจ่ออยู่ในอารมณ์กรรมฐาน
    5. ปัญญินทรีย์ คือ ปัญญาทำหน้าที่เป็นใหญ่ด้วยการรู้แจ้ง

    5.) พละ 5 คือ ธรรมอันเป็นกำลังที่เกื้อหนุนแก่อริยมรรค
    1. สัทธาพละ คือ ความเชื่อ เลื่อมใส ศรัทธาที่เป็นกำลังให้อดทน และเอาชนะธรรมอันเป็นข้าศึก เช่น ตันหา
    2. วิริยะพละ คือ ความเพียรพยายาม เป็นกำลังให้ต่อสู้กับความขี้เกียจ
    3. สติพละ คือ ความระลึกได้ในอารมณ์สติปัฏฐาน อันจะเป็นกำลังให้ต้านทานความประมาทพลั้งเผลอ
    4. สมาธิพละ คือ ความตั้งมั่นจดจ่ออยู่ในอารมณ์กรรมฐาน ทำให้เกิดกำลังต่อสู้เอาชนะความฟุ้งซ่าน
    5. ปัญญาพละ คือ เป็นกำลังปัญญาที่เข้มแข็ง ซึ่งทำให้เอาชนะโมหะ คือความโง่ ความหลง

    6.) โพชฌงค์ 7 คือ ธรรมที่เป็นองค์แห่งการตรัสรู้
    1. สติสัมโพชฌงค์ คือ ความระลึกได้ สำนึกพร้อมอยู่ ใจอยู่กับกิจ จิตอยู่กับเรื่อง
    2. ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ คือ ความเฟ้นธรรม ความสอดส่องสืบค้นธรรม
    3. วิริยสัมโพชฌงค์ คือ ความเพียร
    4. ปีติสัมโพชฌงค์ คือ ความอิ่มใจ
    5. ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ คือ ความสงบกายใจ
    6. สมาธิสัมโพชฌงค์ คือ ความมีใจตั้งมั่น จิตแน่วในอารมณ์
    7. อุเบกขาสัมโพชฌงค์ คือ ความมีใจเป็นกลาง เพราะเห็นตามเป็นจริง

    7.) มรรคมีองค์ 8 คือ หนทางปฏิบัติที่นำไปสู่การบรรลุมรรคผลนิพพาน
    1. สัมมาทิฏฐิ คือ ปัญญาเห็นชอบ หมายถึงเห็นถูกตามความเป็นจริงด้วยปัญญา
    2. สัมมาสังกัปปะ คือ ดำริชอบ หมายถึง การใช้สมองความคิดพิจารณาแต่ในทางกุศลหรือความดีงาม
    3. สัมมาวาจา คือ เจรจาชอบ หมายถึงการพูดสนทนา แต่ในสิ่งที่สร้างสรรค์ดีงาม
    4. สัมมากัมมันตะ คือ การประพฤติดีงาม ทางกายหรือกิจกรรมทางกายทั้งปวง
    5. สัมมาอาชีวะ คือ การทำมาหากินอย่างสุจริตชน
    6. สัมมาวายามะ คือ ความอุตสาหะพยายาม ประกอบความเพียรในการกุศลกรรม
    7. สัมมาสติ คือ การไม่ปล่อยให้เกิดความพลั้งเผลอ จิตเลื่อนลอย ดำรงอยู่ด้วยความรู้ตัวอยู่เป็นปกติ
    8. สัมมาสมาธิ คือ การฝึกจิตให้ตั้งมั่น สงบ สงัด จากกิเลศ นิวรณ์อยู่เป็นปกติ


    ถ้าไม่ได้ปฎิสัมภิทาญาน ก็ไม่มีทางรู้ชัดขนาดนี้หรอก และที่แน่นอนที่สุด มองไว้ว่าเป็นภาระหรือทิ้งไว้ให้เป็นภาระของผู้รู้จักและบรรลุปฎิสัมภิทาญานมาแก้ไขให้ในภายหลัง ดังที่หลวงปู่มันท่านกล่าวถึงมุตโตทัย และหลวงปู่ดูลย์กล่าวถึงพระธรรมอยู่ในจิตทั้งหมด นั้นก็คือ ปฎิสัมภิทาญาน 22519180_1983312125263667_5064515854664425123_n.jpg
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 ธันวาคม 2018
  20. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    คงชัดเจนจบสิ้นแล้วนะสำหรับการทำลายพระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ของโมฆะบุรุษ อย่างคึกฤทธ์ และเหล่าสาวกสำนักวัดนาป่าพง ทำเอาคืนนี้ไม่ได้นอนเลย ยืนพิมพ์มาทั้งคืนนึกว่าทำงานเป็นแคชเชียร์เสียอีก ที่ทนได้เพราะดื่มน้ำมูตรเน่ากระมัง แต่ก็คุ้มค่า ที่ค้นหามูลเหตุที่แท้จริงที่แฝงด้วยเล่ห์นัยจนเจอ

    ใครสั่งเสียมันไว้กันแน่ ไปเอามาจากตำราเล่มไหนคึกฤทธิ์

    หวังว่า จะไม่มีใครหลงผิดคิดทำลาย
    พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ ทิ้งอีกเหมือนสำนักอลัชชี โมฆะบุรุษ อามิสทายาทผู้หลอกลวงนี้

    ขอถวายเป็น
    พุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา

    ขออนุโมทนาบุญฯ





    23.jpg
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 ธันวาคม 2018

แชร์หน้านี้

Loading...