สำนักวัดนาป่าพงคึกฤทธิ์และสาวกพลาด! สร้าง" พุทธวจน " ปลอม

ในห้อง 'Black Hole' ตั้งกระทู้โดย เสขะปฎิสัมภิทา, 7 กรกฎาคม 2015.

  1. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    เรื่องเมื่อวาน

    จริงๆจะเป็นคันแรกที่โดน แต่ด้วยความที่เป็นรถผู้น้อยให้เกียรติผู้ใหญ่ จึงให้ออกก่อน

    จริงๆในเรื่องภัยนี้ก็พึ่งออกปากกับ อส. 3 คน ไม่ถึง30นาที ว่าจะเกิดเหตุการณ์กับนายอำเภอและปลัดอย่างแน่นอน

    ไม่นึกว่าจะเร็วขนาดนี้

    ภัยนี้หนีไม่พ้นจริงๆแต่ก็นับว่าดวงยังไม่ถึงฆาต

    ไม่เกี่ยวอะไร กับการเคลื่อนไหว ย้ายมาทำไมที่นราธิวาสหนอ เรา

    เพื่ออะไร?

    ต้องการให้เราเผชิญเหตุและรับรู้ค้นหาในสิ่งใดในดินแดนแห่งนี้ก่อนสละโลกในอนาคตกันหนอ?

    https://news.thaipbs.or.th/content/254571
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 สิงหาคม 2016
  2. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,667
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    ..........
    คุณพระช่วย !!!
     
  3. supatorn

    supatorn ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 กรกฎาคม 2010
    โพสต์:
    48,667
    กระทู้เรื่องเด่น:
    169
    ค่าพลัง:
    +33,049
    [​IMG]
    . .
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  4. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    นี่ไม่ใช่เรื่องแก้ต่างหรือผูกใจเจ็บ ก่อนหน้านั้น เราแคร์ความรู้สึกของผู้อื่นมากเกินไป จึงปล่อยเขาไป

    การ ไว้หน้าผู้อื่นที่เห็นผิด ย่อมทำให้ผู้เห็นผิดเกิดความลำพองได้ใจ เป็นอย่างนั้นจริงๆ

    Anuchit Ruengpradit ผมฆ่าตายไปหลายคนแล้วครับศิษย์วัดนาฯ ตายเกลื่อน อันที่ผมถามว่าคุณได้เข้าใจว่าตนเองเป็นพระอรหันต์รูปหนึ่งแล้วกระมัง ก็อยากให้คุณลองตอบดูหนะครับ ว่าตนเองรู้สึกว่าตนเองเนี่ย บรรลุธรรมรึยัง?
    เลิกถูกใจ · 2 · 21 เมษายน เวลา 20:03 น.


    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ท่านจะฆ่าใครมา แต่วันนี้ท่านจะถูกเราปล่อยให้เป็นอิสรภาพ ไม่ฆ่าไม่แกงท่าน อย่างที่ท่านเคยฆ่าผู้อื่นมา
    เลิกถูกใจ · 1 · 21 เมษายน เวลา 20:08 น.


    จะฆ่าความเห็นผิดก็ฆ่าได้ทันที เรารู้สภาวะนั้นทันที


    "ถึงเวลาเฉลย"

     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 สิงหาคม 2016
  5. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    " ถึงเวลาเฉลย "
    ถามไถ่ถึง สหายธรรม
    ธันวา ชมพูนุท
    Jintana Plangpongpan
    ทำไมจึงไม่ทอดทิ้งเรา
    และ
    Sirichai Lee
    ทำไมจึงเห็นตามเราว่ามีข้อที่ถูกและสามารถเป็นไปได้อย่างนั้น ในเรื่องนี้
    https://www.facebook.com/groups/161...67512/?notif_t=like&notif_id=1461162930112629


    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ทำไมจึงไม่ทอดทิ้งเรา ในครานั้น ?
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    Jintana Plangpongpan สวัสดีค่ะ ท่านธรรมบุตร สบายดีนะคะ
    เลิกถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ตามอัตภาพครับ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก เหตุบ้านการเมืองไม่เอื้ออำนวยต่อการพิจารณาธรรมนัก แดนใต้วุ่นวายอย่างนี้
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก อยากจะถามท่าน ว่าเมื่อเห็นเราถูกเบียดเบียนอยู่ ทำไมจึงไม่ทอดทิ้งเรา
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก เรากับท่านก็มิได้รู้จักกันมาก่อน
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    Jintana Plangpongpan ดิฉันและเพื่อนๆ ไม่ได้ทอดทิ้งท่าน เพราะเห็นท่านเป็นกัลยาณมิตรค่ะ
    เลิกถูกใจ · ตอบกลับ · 2 · 1 ชม.

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ทำไมจึงแบกหน้ารับผิดรับชอบนั้นด้วย
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ด้วยข้อนั้นเราจึงขอสรรเสริญในคุณงามความดีของท่าน
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    Jintana Plangpongpan ถึงแม้ไม่รู้จักท่านส่วนตัว แต่รู้สึกว่าท่านคล้ายๆ ท่านอวยชัยค่ะ คือ เหมือนมีธรรมหลั่งไหลมาเอง โดยไม่ต้องก๊อป ค่ะ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก โดยเฉพาะท่านทั้งสอง ท่านอวยชัยเคยตำหนิเราหนึ่งเรื่อง คือ ฉายาเรา มี ธรรมราชา ตามหลัง หากเรามีความหวังหรือปรารถนาพุทธภูมิ หรือ ตามฉายาว่า ธรรมบุตร บุตรของธรรมราชา ธรรมทายาทของพระธรรมราชา นั่นก็มิได้หมายความว่า เรานำเอานามของพระธรรมราชามาใช้ส่วนตัว
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม. · มีการแก้ไข

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก เราแตกต่างจากท่านอวยชัยหนึ่งอย่าง คือเราได้มาจาก พระไตรปิฎกดั้งเดิมที่พระพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวกทั้งหลายทรงรู้ทรงเห็น
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    Jintana Plangpongpan อ้อ ค่ะ ตอนนี้ท่านอวยชัย คงทราบความหมายชื่อแฝงของท่านธรรมบุตรแล้วน่ะค่ะ
    เลิกถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    Jintana Plangpongpan ขอบพระคุณที่ชมดิฉันและเพื่อนค่ะ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 ชม.

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ที่เรา คิดคำนึงอยู่จึงต้องเฉลยเรื่องนี้
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก เพราะท่านทั้งสอง ไม่ได้ทอดทิ้งเรา สมควรที่เราจะเอื้อประโยชน์แก่ท่าน
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก คุณความดีนี้เราจึงขอตอบแทนไว้ในที่นี้
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    Jintana Plangpongpan ขอบพระคุณค่ะ อนุโมทนา สาธุ ค่ะ
    เลิกถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก เราจะอุปมาให้ท่านฟังว่า ผู้ที่ไม่เคยเห็นเมล็ดข้าวสารและไม่รู้จักที่ไปที่มาของเมล็ดข้าวสาร แต่เขาคุยโต้โอ้อวดว่า เขาสามารถ หาเมล็ดข้าวสาร ปลูกข้าว นำมาหุงหาเองได้โดยไม่ต้องพึ่งพาอาศัยใครๆ เขาผู้นั้น เป็นคนอย่างไร?
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก โดยอันที่จริงเขาไปคว้าเอาเมล็ดถั่วเขียวมาแทน
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก บุคคลผู้นั้น ชื่อว่าได้ทำลายตนเอง และได้ชวนเชื่อให้ผู้อื่น ยกยอปอปั้นตนเอง นั่นก็เท่ากับหลอกลวงผู้อื่น โดยที่บุคคลต่างๆเหล่านั้นก็ไม่รู้จักเมล้ดข้าวสารโดยเช่นเดียวกัน ในดินแดนแห่งนั้น
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก บุคคลเหล่านี้ ก็ได้ชื่อว่า ไม่รู้จริงจริงและกระทำเท็จ โดยความเขลาเบาปัญญาใช่หรือไม่ จึงเออออ ตาม บุรุษหนึ่งที่นำเมล็ดถั่วเขียวมาแล้วบอกคนเหล่านั้นว่าเป็นเมล็ดข้าว
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก สรุปจึงเชื่อว่าเป็นเมล็ดข้าว และก็คิดว่า ไม่มีผู้ใดที่จะมีความสามารถที่จะหาเมล็ดข้าว ทำกิจกับเมล็ดข้าวได้เท่าเทียมกับตนอีกแล้ว
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม. · มีการแก้ไข

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ความคิดนั้นเป็นความคิดที่ถูกหรือผิด
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ที่นี้ ในเรื่องนี้ ที่เราได้แสดงและบอกไว้แต่ต้นแล้วเรา ทำไมเราจึงรู้ว่าบุคคลพาลผู้นั้นเป็นปริยัติงูพิษ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก เพราะอะไรอย่างนั้นหรือ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 ชม.

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ความเป็นจริง


    พระพุทธพจน์ที่ยกขึ้นสู่แบบแผนด้วยมาคธีภาษา ยังไม่บรรลุถึงคลองแห่งโสตประสาทของพระอริยบุคคลผู้บรรลุปฏิสัมภิทานั้น เป็นการเนิ่นช้า. แต่เมื่อโสตประสาทพอพระพุทธพจน์กระทบแล้วเท่านั้น เนื้อความก็ปรากฏตั้งร้อยนัย พันนัย. ก็พระพุทธพจน์ที่ยกขึ้นสู่แบบแผนด้วยภาษาอื่น ก็ย่อมต้องเรียนเอาแบบตีความแล้วตีความเล่า.

    ไม่ต้องกล่าวถึงอรรถกถาภาษาถิ่นต่างๆเลยว่าจะสามารถมองได้มากมายสักเท่าไหร่ ถ้าคิดว่าพระสูตรต่างๆหรืออรรถกถาต่างๆสามารถมองได้เป็นเพียงนัยเดียวเท่านั้นก็ลืมและปฎิเสธ"ปฎิสัมภิทามรรค"ได้เลยครับ คงไม่จำเป็นต่อพระพุทธศาสนาแล้ว
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ปุจฉา ได้ ก็ต้อง วิสัชนา แก้ได้...ดูเพิ่มเติม
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ไม่ว่าจะเป็นพระสูตรหรืออรรถกถาก็ตาม ถ้าดูหมิ่นพระพุทธเจ้าและพระธรรมพระสงฆ์สาวกจะอยู่ในลัทธินิกายไหน ผมก็ไม่เอาทั้งนั้นครับ ผมบอกแล้วผมสามารถวิสัชนาเชื่อตามและพิจารณาตามแบบนั้นได้ แต่ผมก็มีสติปัญญาที่คิดพิจารณาให้กว้างขวางออกไปอีก เพราะฉนั้นข้อที่ Anuchit Ruengpradit กล่าวหาว่าผมดูหมิ่นอรรถกถา นั้นไม่ถูกต้องครับ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ที่นี้ ผู้ที่มีสติปัญญาในธรรมก็ย่อมรู้ย่อมทราบกันอยู่แล้ว ว่า ใครก็ตามไม่สามารถพยากรณ์คติที่ไปของตนเองได้ ถ้าไม่ใช้พระอริยะ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.


    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก " ดูกรสาวกทั้งหลายฯ บุคคลผู้เป็นภิกษุยังเป็นปุถุชนเหล่านั้นฆ่าตัวตายแล้วหรือไม่ได้ฆ่าตัวตายเองก็ดี ใช้ให้เขาฆ่าก็ดี ตายเองก็ดี ทำกาละแล้ว ล้วนมีคติที่ไปไม่แน่นอน แล้วแต่จิตจะจุติ "

    แบบนี้ ผมชักจะหวั่นๆแน่นอนครับ

    คติของพวกภิกษุผู้ยังเป็นปุถุชน ไม่แน่นอน. เป็นไงลอกอรรถกถามาตอบทั้งดุ้น สุดท้าย ต้องมาตอบว่า "แล้วแต่จิตจุติ" พระพุทธเจ้าโลกธาตุศาสนาไหนสอนครับ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ผมจะค่อยๆ แสดงให้ท่านได้เห็นว่า สิ่งที่ผิดพลาดมากที่สุดคือเรื่องอะไร?
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 ชม.

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก กระผมบอกได้เลยว่า ไม่ว่าจะเป็นเพจไหนก็ตามที่สาธยายธรรมในศาสนาพุทธแล้ว อวดเก่งว่าตนเองรู้ดีที่สุด ใครมีความคิดความเห็นต่างจากตนเองไม่ได้ ด้วยภูมิของปุถุชน มีหรือจะเข้าใจภูมิของอริยะบุคคล บุคคลผู้นั้นได้ทำลาย ฐานะของผู้ถือ ทิฎฐิ และเป็นผู้ไม่รู้ไม่เห็น เป็นความแส่หา เป็นความดิ้นรน ของคนมีตัณหา
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 2 นาที · มีการแก้ไข

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ผมจะถามให้ท่านได้พิจารณาว่า ทำไม คุณ Sirichai Lee จึงคิดจึงเห็นว่า สิ่งที่ผมนำมาแสดงนั้น มีข้อท่ถูก มีส่วนที่ถูกและเป็นไปได้
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 59 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก และที่สำคัญ เป็นสภาวะที่รองรับฐานะธรรมอันใหญ่ด้วย คือพลาดมิได้เลย ถ้าพลาดในข้อนี้ เสียทันที เสียฐานะสงฆ์ทันที
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 59 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก "ปัญหาที่พระพุทธเจ้าทรงพยากรณ์และไม่ทรงพยากรณ์"
    ดูกรมาลุงกยบุตร เพราะเหตุนั้นแล เธอทั้งหลายจงทรงจำปัญหาที่เราไม่พยากรณ์ โดยความเป็นปัญหาที่เราไม่พยากรณ์ และจงทรงจำปัญหาที่เราพยากรณ์ โดยความเป็นปัญหาที่เราพยากรณ์เถิด.

    ดูกรมาลุงกยบุตร อะไรเล่าที่เราไม่พยากรณ์ ดูกรมาลุงกยบุตรทิฏฐิว่า โลกเที่ยง โลกไม่เที่ยง โลกมีที่สุด โลกไม่มีที่สุด ชีพอันนั้น สรีระก็อันนั้น ชีพอย่างหนึ่ง สรีระอย่างหนึ่ง สัตว์เบื้องหน้าแต่ตายไปมีอยู่ สัตว์เบื้องหน้าแต่ตายไปไม่มีอยู่ สัตว์เบื้องหน้าแต่ตายไปมีอยู่ก็มี ไม่มีอยู่ก็มี สัตว์เบื้องหน้าแต่ตายไป มีอยู่ก็หามิได้ ไม่มีอยู่ก็หามิได้ ดังนี้ เราไม่พยากรณ์.
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 59 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ดูกรมาลุงกยบุตร ก็เพราะเหตุไร ข้อนั้นเราจึงไม่พยากรณ์เพราะข้อนั้นไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ ไม่เป็นไปเพื่อความหน่ายเพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน เหตุนั้นเราจึงไม่พยากรณ์ข้อนั้น.

    ดูกรมาลุงกยบุตร อะไรเล่า ที่เราพยากรณ์ ดูกร มาลุงกยบุตร ความเห็นว่า นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ความดับทุกข์ นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ดังนี้ เราพยากรณ์.

    ก็เพราะเหตุไร เราจึงพยากรณ์ข้อนั้น เพราะข้อนั้น ประกอบด้วยประโยชน์ เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ เป็นไปเพื่อความหน่าย เพื่อความคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน เหตุนั้นเราจึงพยากรณ์

    ข้อนั้น. เพราะเหตุนั้นแหละ เธอทั้งหลายจงทรงจำปัญหาที่เราไม่พยากรณ์ โดยความเป็นปัญหาที่เราไม่พยากรณ์ และจงทรงจำปัญหาที่เราพยากรณ์ โดยความเป็นปัญหาที่เราพยากรณ์เถิด.
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 58 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก นี่ก็อีกเรื่องหนึ่ง ไปหลอกชาวบ้านเขามามาก เจอคำถาม ปุถุชนฆ่าตัวตายแล้วไปไหน? ตอบไม่ได้ เลยตอบเป็น" แล้วแต่จิตจุติ" เขาให้ตอบคติที่ไป นรกภูมิเดียรัจฉาน หรือ สวรรค์ถึงเจโตวิมุตติอันไม่กำเริบ ถ้าตอบอย่างนั้น แว่นส่องธรรม และพระสูตรต่างๆ ที่ระบุแน่ชัดเรื่องคติที่ไป คงไม่ต้องมีแล้ว . ยิ่งเรื่องศีล กล่าวเรื่องละเมิดการฆ่าตัวตาย ไม่ผิดศีล ยิ่งไปกันใหญ่ นี่เรียกว่าไม่รู้จักศีล การกำหนดข้อวัตรต่างๆ อะไรที่ตั้งใจว่าจะไม่ละเมิดจะรักษา นั่นก็เป็นศีลข้อนึงได้แล้ว ว่าด้วยเหตุและผล สงสารคนคิดตามอ่านตามจะหลงไปตามคนอวดเก่งปริยัติงูพิษ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 57 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ผมไม่ได้บอกว่าจะพิจารณาตามไม่ได้ แต่สามารถพิจารณาตามได้ตามสภาวะฐานะธรรมของตน จะเข้าใจได้ตามที่เขาแสดงมาในชั้นอรรถกถาก็สมควรแก่สติปัญญาของตน จะให้คิดแบบนั้นผมคิดไปไกลเกินกว่าจะเชื่อแล้วครับ ถ้าผมเชื่ออรรถกถาบทอรรถกถา มหาวิภังค์ ปฐมภาคปาราชิกกัณฑ์ ตติยปาราชิกสิกขาบท ตติยปาราชิกวรรณนา ที่นำมาแสดงทั้งหมดนี้ก็ขัดกับพระสูตรอื่นที่นำมาแสดง และยังหมิ่นพระทศพลญานและพระสัพพัญญุตญานอีกด้วย และสำหรับผม ผมจะเข้าใจตามสติปัญญาของผมครับ ไม่ยัดเยียด เรื่องปัตจัตตังแบบนี้ ให้ใครต้องคิดต้องเชื่อตาม
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 56 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก เพราะยึดแต่ในปริยัติ จึงไม่มีทางรู้ว่ามีนัยและให้ความหมายถกเถียงแปลแก้ความมากันกี่อย่าง ที่สำคัญที่สุด ไปหมิ่นพระทศพลญาน ๑๐ เข้า เพราะไปวิสัชนาว่า "ภิกษุมีคติที่ไม่แน่นอน" คือ จักหมายความว่า พระพุทธเจ้าไม่ทรงทราบว่า ใครทำกรรมแบบนี้ตายแล้วไปไหน สอนได้เหรอแบบนี้ ไหนจะมีการถกเถียงกันอีกว่าจะให้ไปในแนวทางไหน ของอาจารย์บัณฑิตไม่รู้กี่สำนักต่อสำนักที่แสดงมาแล้วในอรรถกถา ผมไม่ได้ปฎิเสธว่าอรรถกถาเชื่อไม่ได้ แต่เราต้องมีความรู้ให้กว้างขวางจึงจะสามารถวิสัชนาได้ถูกต้อง จะเอาถูกแต่ตรงหน้าตรงที่เห็นแต่ตรงอื่นขัดหมดผิดหมด ทั้งๆที่หลักฐานมันโทนโท่ว่า อรรถกถาให้ความเห็นถกเถียงกันมาก่อน ข้อนี้จึงจบไปอย่างน่าอึดอัดใจในที่สุด มึนไปตามๆกัน

    บอกแล้วว่า อย่ายึดปริยัติมากเกินไป ว่าเห็นว่ารู้ว่าใช่ที่สุด ผลสุดท้ายมันก็จะพันตนเองไปหมด
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 55 นาที

    {O}พระทศพลญาณ๑๐{O}


    ทศพลญาณ (บาลีเรียก ตถาคตพลญาณ 10 คือ พระญาณอันเป็นกำลังของพระตถาคต 10 ประการ ที่ทำให้พระองค์สามารถบันลือสีหนาท ประกาศพระศาสนาได้มั่นคง


    1. ฐานาฐานญาณ (ปรีชาหยั่งรู้ฐานะและอฐานะ คือ รู้กฏธรรมชาติเกี่ยวกับขอบเขตและขีดขั้นของสิ่งทั้งหลายว่า อะไรเป็นไปได้ อะไรเป็นไปไม่ได้ และแค่ไหนเพียงไร โดยเฉพาะในแง่ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุกับผล และกฎเกณฑ์ทางจริยธรรมเกี่ยวกับสมรรถวิสัยของบุคคล ซึ่งจะได้รับผลกรรมที่ดีและชั่วต่างๆ กัน


    2. กรรมวิปากญาณ (ปรีชาหยั่งรู้ผลของกรรม คือ สามารถกำหนดแยกการให้ผลอย่างสลับซับซ้อน ระหว่างกรรมดีกับกรรมชั่ว ที่สัมพันธ์กับปัจจัยแวดล้อมต่างๆ มองเห็นรายละเอียดและความสัมพันธ์ภายในกระบวนการก่อผลของกรรมอย่างชัดเจน


    3. สัพพัตถคามินีปฏิปทาญาณ (ปรีชาหยั่งรู้ข้อปฏิบัติที่จะนำไปสู่คติทั้งปวง คือ สุคติ ทุคติ หรือพ้นจากคติ หรือปรีชาหยั่งรู้ข้อปฏิบัติที่จะนำไปสู่อรรถประโยชน์ทั้งปวง กล่าวคือ ทิฏฐธัมมิกัตถะ สัมปรายิกัตถะ หรือ ปรมัตถะ คือรู้ว่าเมื่อปรารถนาจะเข้าถึงคติหรือประโยชน์ใด จะต้องทำอะไรบ้าง มีรายละเอียดวิธีปฏิบัติอย่างไร


    4. นานาธาตุญาณ (ปรีชาหยั่งรู้สภาวะของโลกอันประกอบด้วยธาตุต่างๆ เป็นเอนก คือ รู้สภาวะของธรรมชาติ ทั้งฝ่ายอุปาทินนกสังขารและฝ่ายอนุปาทินนกสังขาร เช่น รู้จักส่วนประกอบต่างๆ ของชีวิต สภาวะของส่วนประกอบเหล่านั้น พร้อมทั้งลักษณะและหน้าที่ของมันแต่ละอย่าง อาทิการปฏิบัติหน้าที่ของขันธ์ อายตนะ และธาตุต่างๆ ในกระบวนการรับรู้ เป็นต้น และรู้เหตุแห่งความแตกต่างกันของสิ่งทั้งหลายเหล่านั้น


    5. นานาธิมุตติกญาณ (ปรีชาหยั่งรู้อธิมุติ คือ รู้อัธยาศัย ความโน้มเอียง ความเชื่อถือ แนวความสนใจ เป็นต้น ของสัตว์ทั้งหลายที่เป็นไปต่างๆ กัน

    6. อินทริยปโรปริยัตตญาณ (ปรีชาหยั่งรู้ความยิ่งและหย่อนแห่งอินทรีย์ของสัตว์ทั้งหลาย คือ รู้ว่าสัตว์นั้นๆ มีศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา แค่ไหน เพียงใด มีกิเลสมาก กิเลสน้อย มีอินทรีย์อ่อน หรือแก่กล้า สอนง่ายหรือสอนยาก มีความพร้อมที่จะตรัสรู้หรือไม่


    7. ฌานาทิสังกิเลสาทิญาณ (ปรีชาหยั่งรู้ความเศร้าหมอง ความผ่องแผ่ว การออกแห่งฌาน วิโมกข์ สมาธิและสมาบัติทั้งหลาย


    8. ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ (ปรีชาหยั่งรู้อันทำให้ระลึกภพที่เคยอยู่ในหนหลังได้


    9. จุตูปปาตญาณ (ปรีชาหยั่งรู้จุติและอุบัติของสัตว์ทั้งหลายอันเป็นไปตามกรรม

    10. อาสวักขยญาณ (ปรีชาหยั่งรู้ความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 54 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ทางรอดที่บริสุทธิ์หมดจดคือ ต้องแสดงเนื้อความประโยค ที่ได้ตีความหมายให้รู้ซึ้งถึงเจตนาของอาจารย์ผู้สอน ให้ถูกต้องตามหลักธรรมทั้งมวลฯ โดยพิจารณาอย่างถี่ถ้วนรอบรู้ในธรรมของอาจารย์ดีแล้ว โดยนำสรุป เข้าสู่กระบวนการไตร่ตรอง พิจารณาตามหลักธรรมทั้งหลายฯ สรุปผลให้เป็น [สัมมาทิฏฐิ] นั่นคือ การแสดงเป็นอรรถาธิบาย โดยบริสุทธิ์บริบูรณ์ครบถ้วน ที่ไม่ว่าผู้ใด ก็ไม่สามารถหาเหตุข้อติดขัดใดๆ มาโต้แย้งได้
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 53 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก คนพาลอยากลองของ แต่ไม่รู้จักความหมาย ของ ปฎิสัมภิทาญาน แถมยังไปปรามาสท่านขุชชุตตราอุบาสิกา เอตทัคคะในฝ่ายผู้เป็นพหูสูต ว่าไม่ได้มีปฎิสัมภิทาญานจริงๆ "อ้างอาจารย์ แนบ" สรุปก็ไม่เชื่อไม่เอาพระไตรปิฏก แต่ไปเอาอาจารย์แนบเป็นที่ยึด

    มีคนเข้าใจว่าผู้มีปฎิสัมภิทาญาน มี นิรุตติญานทัสสนะ จะต้องสามารถแปลภาษาบาลีได้ทั้งหมด ดีนะครับที่ไม่เอาภาษาสัตว์มาให้ผมแปล

    ในเรื่อง พระอริยะบุคคลฆ่าตัวตาย อย่างกรณีพระฉันนะผมเป็นผู้ยืนกระต่ายขาเดียว ว่าท่านได้เป็นพระอริยะแล้ว สวนกระแสความคิดของบุคคลอื่นที่อ้างอิงจากตำราว่าไม่ได้เป็นพระอริยะ มาเป็นภายหลังจากการเชือดคอฆ่าตนเอง

    ดังที่แปลมาในอรรถกถา คำว่า ทรงพยากรณ์ความไม่เกิดต่อหน้าทีเดียว คือ ถึงแม้ว่าการพยากรณ์นี้ มีในเวลาที่พระเถระยังเป็นปุถุชนก็จริง ถึงอย่างนั้น การปรินิพพานที่ไม่มีอะไรมาแทรกแซงได้ของท่านก็ได้มีตามคำพยากรณ์นี้. เหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงถือเอาคำพยากรณ์นั้นแหละมาตรัส.
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 53 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก สรุปการที่เขากล่าวหาผมว่า ผมไม่เอา อรรถกถา แน่นอนครับ ผมไม่เอา อรรถกถา ที่เป็นเพียง ปริยัติ แต่ผมต้องได้ ปฎิบัติ และปฎิเวธ และสรุปให้เป็นสัมมาฯ ด้วย ผมจึงจะรับใน ปริยัตินั้นอย่างสมบูรณ์
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 51 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก แต่การกระของเขากลับสวนทางคำพูดที่เขากล่าว ผมก็รู้ทันที ว่าปริยัติงูพิษผู้นี้ต้องมิตฉัตตะ ๑๐ ประการแล้ว นี่เป็นผลจากการปรามาสพระสัทธรรมและมีมีความเห็นผิด
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 50 นาที · มีการแก้ไข

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ถ้าไม่ใช่พระอริยะพระฉันนะไม่มีทางพยากรณ์ทั้งปัญหาธรรมและพยากรณ์คติที่จะไปของตนเองได้ครับ และพระพุทธเจ้าจะไม่ทรงตรัสรับรองพยากรณ์แน่

    รู้กันด้วยใจ รู้กันด้วยปัญญา ไม่ต้องอวดว่าเป็นอริยะ ก็รู้ว่าเป็นอริยะ อย่าคิดว่าเข้าใจได้ง่ายๆครับ คำถามที่พระฉันนะท่าน พยากรณ์ตอบท่านพระสารีบุตรอย่างนั้น ผมรู้ๆ ตอบแบบนั้น
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 49 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก อีกอย่าง เขาถามผมว่า ผมเป็นอริยะหรือไม่ นั่นเพราะเขาไม่มีทางรู้ได้หรอก เพราะเขาถูกจัดอยู่ในภูมิของ อสัตบุรุษ เป็นพาล เป็นปริยัติงูพิษ ผู้เบียดเบียนผู้อื่น ปฎิบัติตนอย่างพระอุทายีที่เบียดเบียนพระสารีบุตรต่อหน้าพระพักตร์ของพระพุทธเจ้า พระองค์ยังต้องทรงเสด็จหนี ผมก็หนีครับ เพราะนึกรังเกียจ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 48 นาที

    Jintana Plangpongpan สาธุ สาธุ ค่ะ

    ดิฉันต้องขอตัวสักครู่ แล้วจะมาติดตามอ่านต่อนะคะ ตอนนี้เพื้อนๆ คือ คุณ Sirichai Lee และคุณ ธันวา ชมพูนุท อาจจะยังติดธุระอยู่ ดิฉันแท็กชื้อให้อีกรอบค่ะ
    เลิกถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 46 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ที่นี้จะเข้าไปยังส่วนที่ลึกที่สุด ที่พลาดที่สุด ชนิดที่ว่า ใครที่เข้าข้างเขา จนมาหมิ่นประมาทผม ว่าผมหลงว่าตนเองบรรลุธรรมด้านปฎิสัมภิทาญาน ล้มกันเป็นแถบๆ ชนิดที่เรียกได้ว่า เพจนั้น พังได้เลยเพราะไม่คัดกรองคน ในการสนทนา
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 46 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก " ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุรุษเปล่าบางพวกในพระธรรมวินัยนี้ ย่อมเรียนธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพพูตธรรม เวทัลละ บุรุษเปล่าเหล่านั้น เรียนธรรมนั้นแล้ว ย่อมไม่ไตร่ตรองเนื้อความแห่งธรรมนั้น ด้วยปัญญา ธรรมเหล่านั้น ย...ดูเพิ่มเติม
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 44 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก เมื่อบุคคลเหล่านั้น เห็นว่าผู้นั้นมีปัญญามาก จนถึงขั้น เยินยอว่า เป็นดั้ง ตู้หรือคลังพระไตรปิฎก หรือตู้พระไตรปิฎกกันเลยทีเดียว
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 40 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ทีนี้ มาพิจารณาข้อผิดพลาดที่ร้ายแรงที่สุดนะครับ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 37 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรื่องนี้ตถาคตรู้ชัดว่า ฐานะที่ตั้งแห่งทิฏฐิเหล่านี้ บุคคลถือไว้อย่างนั้นแล้ว ยึดไว้อย่างนั้นแล้ว ย่อมมีคติอย่างนั้น มีภพเบื้องหน้าอย่างนั้น และตถาคตย่อมรู้เหตุนั้นชัดทั้งรู้ชัดยิ่งกว่านั้น ทั้งไม่ยึดมั่นความรู้ชัดนั้นด้วย เมื่อไม่ยึดมั่นก็ทราบความเกิดนั้น ความดับไปคุณและโทษของเวทนาทั้งหลาย กับทั้งอุบายเป็นเครื่องออกไปจากเวทนาเหล่านั้น ตามความเป็นจริงจึงทราบความดับได้เฉพาะตน เพราะไม่ถือมั่น ตถาคตจึงหลุดพ้น.

    ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมเหล่านี้แลที่ลึกซึ้ง เห็นได้ยาก รู้ตามได้ยาก สงบ ประณีตจะคาดคะเนเอาไม่ได้ ละเอียด รู้ได้เฉพาะบัณฑิต ซึ่งตถาคตทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งเองแล้วสอนผู้อื่นให้รู้แจ้ง ที่เป็นเหตุให้กล่าวชมตถาคตตามความเป็นจริงโดยชอบ.
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 37 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ฐานะของผู้ถือทิฏฐิ
    [๕๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย บรรดาสมณพราหมณ์เหล่านั้น สมณพราหมณ์เหล่าใดมีทิฏฐิว่าเที่ยง ย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่าเที่ยง ด้วยเหตุ ๔ ประการ ข้อนั้นเป็นความเข้าใจของสมณพราหมณ์ผู้เจริญเหล่านั้น ผู้ไม่รู้ไม่เห็น เป็นความแส่หา เป็นความดิ้นรนของคนมีตัณหาเท่านั้น.

    [๕๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมณพราหมณ์เหล่าใดมีทิฏฐิว่า บางอย่างเที่ยง บางอย่างไม่เที่ยง ย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่า บางอย่างเที่ยง บางอย่างไม่เที่ยง ด้วยเหตุ ๔ ประการแม้ข้อนั้นก็เป็นความเข้าใจของสมณพราหมณ์ผู้เจริญเหล่านั้น ผู้ไม่รู้ไม่เห็นเป็นความแส่หาเป็นความดิ้นรน ของคนมีตัณหาเหมือนกัน.

    [๕๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมณพราหมณ์เหล่าใดมีทิฏฐิว่า โลกมีที่สุด และหาที่สุดมิได้ย่อมบัญญัติว่า โลกมีที่สุดและหาที่สุดมิได้ ด้วยเหตุ ๔ ประการ แม้ข้อนั้นเป็นความเข้าใจของสมณพราหมณ์ผู้เจริญเหล่านั้น ผู้ไม่รู้ไม่เห็น เป็นความแส่หา เป็นความดิ้นรน ของคนมีตัณหาเหมือนกัน.

    [๕๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมณพราหมณ์เหล่าใดมีทิฏฐิดิ้นได้ไม่ตายตัว เมื่อถูกถามปัญหาในข้อนั้นๆ ย่อมกล่าววาจาดิ้นได้ไม่ตายตัว ด้วยเหตุ ๔ ประการ แม้ข้อนั้นก็เป็นความเข้าใจของสมณพราหมณ์ผู้เจริญเหล่านั้น ผู้ไม่รู้ไม่เห็น เป็นความแส่หา เป็นความดิ้นรนของคนมีตัณหาเหมือนกัน.

    [๕๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมณพราหมณ์เหล่าใดมีทิฏฐิว่า อัตตาและโลกเกิดขึ้นลอยๆย่อมบัญญัติอัตตาและโลกว่าเกิดขึ้นลอยๆ ด้วยเหตุ ๒ ประการ แม้ข้อนั้นก็เป็นความเข้าใจของสมณพราหมณ์ผู้เจริญเหล่านั้น ผู้ไม่รู้ไม่เห็น เป็นความแส่หา เป็นความดิ้นรน ของคนมีตัณหาเหมือนกัน.

    [๕๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมณพราหมณ์เหล่าใดกำหนดขันธ์ส่วนอดีต มีความเห็นตามขันธ์ส่วนอดีต ปรารภขันธ์ส่วนอดีต กล่าวคำแสดงทิฏฐิหลายชนิด ด้วยเหตุ ๑๘ ประการแม้ข้อนั้นก็เป็นความเข้าใจของสมณพราหมณ์ผู้เจริญเหล่านั้น ผู้ไม่รู้ไม่เห็น เป็นความแส่หาเป็นความดิ้นรน ของคนมีตัณหาเหมือนกัน.

    [๕๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมณพราหมณ์เหล่าใดมีทิฏฐิว่า อัตตาเหนือขึ้นไปจากการตายมีสัญญา ย่อมบัญญัติว่า อัตตาเหนือขึ้นไปจากการตายมีสัญญา ด้วยเหตุ ๑๖ ประการ แม้ข้อนั้นก็เป็นความเข้าใจของสมณพราหมณ์ผู้เจริญเหล่านั้น ผู้ไม่รู้ไม่เห็น เป็นความแส่หา เป็นความดิ้นรน ของคนมีตัณหาเหมือนกัน.

    [๕๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมณพราหมณ์เหล่าใดมีทิฏฐิว่า อัตตาเหนือขึ้นไปจากการตายไม่มีสัญญา ย่อมบัญญัติว่า อัตตาเหนือขึ้นไปจากการตายไม่มีสัญญา ด้วยเหตุ ๘ ประการแม้ข้อนั้นก็เป็นความเข้าใจของสมณพราหมณ์ผู้เจริญเหล่านั้น ผู้ไม่รู้ไม่เห็น เป็นความแส่หาเป็นความดิ้นรน ของคนมีตัณหาเหมือนกัน.

    [๕๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมณพราหมณ์เหล่าใดมีทิฏฐิว่า อัตตาเหนือขึ้นไปจากการตายมีสัญญาก็มิใช่ ไม่มีสัญญาก็มิใช่ ย่อมบัญญัติว่า อัตตาเหนือขึ้นไปจากการตาย มีสัญญาก็มิใช่ไม่มีสัญญาก็มิใช่ ด้วยเหตุ ๘ ประการ แม้ข้อนั้น ก็เป็นความเข้าใจของสมณพราหมณ์ผู้เจริญเหล่านั้น ผู้ไม่รู้ไม่เห็น เป็นความแส่หา เป็นความดิ้นรน ของคนมีตัณหาเหมือนกัน.
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 36 นาที


    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก [๖๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมณพราหมณ์เหล่าใดมีทิฏฐิว่า ขาดสูญ ย่อมบัญญัติความขาดสูญ ความพินาศ ความเลิกเกิด ของสัตว์ผู้ปรากฏอยู่ ด้วยเหตุ ๗ ประการ แม้ข้อนั้นก็เป็นความเข้าใจของสมณพราหมณ์ผู้เจริญเหล่านั้น ผู้ไม่รู้ไม่เห็น เป็นความแส่หา เป็นความดิ้นรน ของคนมีตัณหาเหมือนกัน.

    [๖๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมณพราหมณ์เหล่าใดมีทิฏฐิว่า นิพพานในปัจจุบัน ย่อมบัญญัติว่า นิพพานปัจจุบันเป็นธรรมอย่างยิ่ง ของสัตว์ผู้ปรากฏอยู่ ด้วยเหตุ ๕ ประการแม้ข้อนั้นก็เป็นความเข้าใจของสมณพราหมณ์ผู้เจริญเหล่านั้น ผู้ไม่รู้ไม่เห็น เป็นความแส่หาเป็นความดิ้นรน ของคนมีตัณหาเหมือนกัน.

    [๖๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมณพราหมณ์เหล่าใดกำหนดขันธ์ส่วนอนาคต มีความเห็นตามขันธ์ส่วนอนาคต ปรารภขันธ์ส่วนอนาคต กล่าวคำแสดงทิฏฐิหลายชนิด ด้วยเหตุ ๔๔ ประการแม้ข้อนั้นก็เป็นความเข้าใจของสมณพราหมณ์ผู้เจริญเหล่านั้น ผู้ไม่รู้ไม่เห็น เป็นความแส่หาเป็นความดิ้นรน ของคนมีตัณหาเหมือนกัน.

    [๖๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมณพราหมณ์เหล่าใดกำหนดขันธ์ส่วนอดีตก็ดี กำหนดขันธ์ส่วนอนาคตก็ดี กำหนดขันธ์ทั้งส่วนอดีตทั้งส่วนอนาคตก็ดี มีความเห็นตามขันธ์ทั้งส่วนอดีตทั้งส่วนอนาคต ปรารภขันธ์ทั้งส่วนอดีตทั้งส่วนอนาคต กล่าวคำแสดงทิฏฐิหลายชนิด ด้วยเหตุ๖๒ ประการ แม้ข้อนั้นก็เป็นความเข้าใจของสมณพราหมณ์ผู้เจริญเหล่านั้น ผู้ไม่รู้ไม่เห็น เป็นความแส่หา เป็นความดิ้นรน ของคนมีตัณหา เหมือนกัน.
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 37 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ศึกษา ทิฎฐิ 62 พิชัยสงครามของศาสนาพุทธ
    ในวงสนทนา ก็จะรู้รอบ ว่า ผู้ใด มีสติปัญญาเพียงเท่าใด
    มีคติเป็นไปในทางใด
    ว่าถูกหรือผิด
    ในสิ่งที่กล่าวมา
    อาศัยเพียง ปริยัติไม่พอ
    ต้องได้ ปฎิบัติ ปฎิเวธด้วย
    และต้องสรุป ให้เป็น สัมมาฯ
    ทั้งปริยัติ ปฎิบัติ ปฎิเวธ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 36 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ในความเป็นจริง คิดว่าตนนั้นได้เห็นธรรม สัมผัสธรรม แท้จริงแม้แต่เปลือกก็ไม่ได้ มิหนำซ้ำยังพาตนเองตกต่ำลงไปอีก

    จะเห็นแต่เพียง
    ปริยัติงูพิษ ปฎิบัติงูพิษ ปฎิเวธงูพิษ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 36 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก บุคคลเหล่านั้น ไม่มีความรู้ความเข้าใจใน ศึกษา ทิฎฐิ 62 อันเป็นพิชัยสงครามของศาสนาพุทธ จึงไม่สามารถล่วงรู้ ว่า การพิจารณาธรรม ข้ออื่นต่างๆ ที่มีหลักฐาน เข้ากันได้มากมายนั้นมีอยู่ เมื่อปฎิเสธความคิดความเชื่อ ตามหลักฐานที่มีอยู่และก็มีความหนักแน่น ก็เท่ากับว่า ได้ทำลาย สัมมาทิฏฐิ ทั้งตนเองและผู้อื่นด้วย
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 30 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ผมดีใจนะ ที่ คุณ ณัฐนันท์ สุดประเสริฐ มีสติปัญญามากพอที่ไม่โย้ไปตามเข้า และ คุณ Sirichai Lee ที่สามารถมองเห็นข้อแตกต่าง และการเข้าถึงที่ชัดเจนในสภาวะธรรมได้
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 28 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ส่วนบุคคลอื่นๆ ที่โย้ไปตามเขา และเห็นด้วยกับความคิดนั้น จะเกิดอคติกับผม ก็แล้วแต่กรรมครับ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 26 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก เรื่องที่ควรตำหนิ คือการ เอา บิดามารดา พ่อแม่ มาพูดคุยมาสมมุติล้อเล่นด้วย คนดีๆมีธรรม เขาไม่ทำกันครับ ขนาดคึกฤทธิ์ที่ผมไม่ชอบ ก้ไม่เคยเอา บุพการีของคึกฤทธิ์เข้ามาพูดเล่น มาเกี่ยวข้องด้วย
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 24 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ขอจบที่ การทำลาย ทิฏฐิ คือ ทิฏฐิ 62 พิชัยสงครามอันยอดเยี่ยมในพระพุทธศาสนา ที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตรัส ถ่ายทอดไว้ครับ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 22 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ต้องการหาแก่นธรรม แต่ไปคว้าเอาเศษธุลีดินแทน น่าสลดสังเวชใจแทนจริงๆ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 20 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ถ้าพวกวัดนาป่าพงที่ฉลาดๆใน ทิฎฐิ 62 พิชัยสงครามของศาสนาพุทธ มาเห็นเข้า และเห็นคนในเพจหลงไปตามบุคคลที่เป็นปริยัติงูพิษ พระไตรปิฎกของคนโง่แบบนั้น คงหัวเราะเยาะจนปวดกราม
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 19 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก พระพุทธเจ้าโลกไหน สอนให้ทดสอบผู้ที่ได้ปฎิสัมภิทาญาน แบบที่คนพาลกระทำ " ภิกษุทั้งหลาย ฯเธอจงทดสอบผู้มีปฎิสัมภิทาญานโดยการให้อ่านและแปลภาษาบาลี มคธ ปรากฤษ สิงหล ฯลฯ ดังนี้ นี่เหรอผู้ที่จะฆ่าปฎิสัมภิทาญาน
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 16 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก เวรกรรมของชาวพุทธ เอาคนโง่มาเป็นไอดอล
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 14 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก การที่จะคอยมานั่งเสียเวลาจับผิดบุคคลที่รู้อยู่แล้วว่าทำผิดแน่ๆ ประจานความผิดของบุคคลนั้นเพียงฝ่ายเดียว ก็เสมือนรังแกผู้ที่อ่อนแอกว่า

    แต่ว่าการรู้ว่าผิดแล้วก็พยายามชี้ถูกและผิด ให้กับเพื่อนพรหมจรรย์ที่มีสติปัญญาพอที่จะรับรู้รับฟัง ในเรื่องที่ตนแสดง แล้วสอนว่านี่ใช่! นี่ไม่ถูกต้อง! สิ่งนี้ถูกต้อง! นี่เป็นประโยชน์
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 5 นาที



    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ในความเป็นจริง คิดว่าตนนั้นได้เห็นธรรม สัมผัสธรรม แท้จริงแม้แต่เปลือกก็ไม่ได้ มิหนำซ้ำยังพาตนเองตกต่ำลงไปอีก

    จะเห็นแต่เพียง
    ปริยัติงูพิษ ปฎิบัติงูพิษ ปฎิเวธงูพิษ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 36 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก บุคคลเหล่านั้น ไม่มีความรู้ความเข้าใจใน ศึกษา ทิฎฐิ 62 อันเป็นพิชัยสงครามของศาสนาพุทธ จึงไม่สามารถล่วงรู้ ว่า การพิจารณาธรรม ข้ออื่นต่างๆ ที่มีหลักฐาน เข้ากันได้มากมายนั้นมีอยู่ เมื่อปฎิเสธความคิดความเชื่อ ตามหลักฐานที่มีอยู่และก็มีความหนักแน่น ก็เท่ากับว่า ได้ทำลาย สัมมาทิฏฐิ ทั้งตนเองและผู้อื่นด้วย
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 30 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ผมดีใจนะ ที่ คุณ ณัฐนันท์ สุดประเสริฐ มีสติปัญญามากพอที่ไม่โย้ไปตามเข้า และ คุณ Sirichai Lee ที่สามารถมองเห็นข้อแตกต่าง และการเข้าถึงที่ชัดเจนในสภาวะธรรมได้
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 28 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ส่วนบุคคลอื่นๆ ที่โย้ไปตามเขา และเห็นด้วยกับความคิดนั้น จะเกิดอคติกับผม ก็แล้วแต่กรรมครับ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 26 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก เรื่องที่ควรตำหนิ คือการ เอา บิดามารดา พ่อแม่ มาพูดคุยมาสมมุติล้อเล่นด้วย คนดีๆมีธรรม เขาไม่ทำกันครับ ขนาดคึกฤทธิ์ที่ผมไม่ชอบ ก็ไม่เคยเอา บุพการีของคึกฤทธิ์เข้ามาพูดเล่น มาเกี่ยวข้องด้วย ยกเว้นไว้ซึ่งกรณีพิพาทเกี่ยวข้องอันมีเหตุที่ส่งผลเสียแก่ชนโดยส่วนมาก เช่นเผาหลอกแล้วก็ยังหลอกคนเป็น เป็นต้น ซึ่งนับว่าไม่เป็นธรรมแก่มารดา
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 24 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ขอจบที่ การทำลาย ทิฏฐิ คือ ทิฏฐิ 62 พิชัยสงครามอันยอดเยี่ยมในพระพุทธศาสนา ที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตรัส ถ่ายทอดไว้ครับ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 22 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ต้องการหาแก่นธรรม แต่ไปคว้าเอาเศษธุลีดินแทน น่าสลดสังเวชใจแทนจริงๆ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 20 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ถ้าพวกวัดนาป่าพงที่ฉลาดๆใน ทิฎฐิ 62 พิชัยสงครามของศาสนาพุทธ มาเห็นเข้า และเห็นคนในเพจหลงไปตามบุคคลที่เป็นปริยัติงูพิษ พระไตรปิฎกของคนโง่แบบนั้น คงหัวเราะเยาะจนปวดกราม
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 19 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก พระพุทธเจ้าโลกไหน สอนให้ทดสอบผู้ที่ได้ปฎิสัมภิทาญาน แบบที่คนพาลกระทำ " ภิกษุทั้งหลาย ฯเธอจงทดสอบผู้มีปฎิสัมภิทาญานโดยการให้อ่านและแปลภาษาบาลี มคธ ปรากฤษ สิงหล ฯลฯ ดังนี้ นี่เหรอผู้ที่จะฆ่าปฎิสัมภิทาญาน
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 16 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก เวรกรรมของชาวพุทธ เอาคนโง่มาเป็นไอดอล
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 14 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก การที่จะคอยมานั่งเสียเวลาจับผิดบุคคลที่รู้อยู่แล้วว่าทำผิดแน่ๆ ประจานความผิดของบุคคลนั้นเพียงฝ่ายเดียว ก็เสมือนรังแกผู้ที่อ่อนแอกว่า

    แต่ว่าการรู้ว่าผิดแล้วก็พยายามชี้ถูกและผิด ให้กับเพื่อนพรหมจรรย์ที่มีสติปัญญาพอที่จะรับรู้รับฟัง ในเรื่องที่ตนแสดง แล้วสอนว่านี่ใช่! นี่ไม่ถูกต้อง! สิ่งนี้ถูกต้อง! นี่เป็นประโยชน์
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 5 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ขอให้ท่านผู้มีสติปัญญาใคร่ครวญพิจารณาธรรมอยู่ในกาล เจริญในพระสัทธรรมอันยิ่งขึ้นไป
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 23 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ใครจะแชร์ไปที่ เพจ เปิดธรรม ที่ถูก นักบวชคึกฤทธิ์ บิดเบือน!!! กระผมยินดีครับ จะได้ละอายใจกันเสียที พยามยามรักษาหน้าตาของเพจแล้ว กลัวล่ม บอกแล้ว ว่าแนวทางของเพจคือ เล่นงานคึก ไม่ใช่มามึงผิดกูถูก

    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 19 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ก็บัณฑิตพึงทราบปฏิสัมภิทา ๔ เหล่านี้ว่า ย่อมถึงซึ่งประเภทในฐานะ ๒. ย่อมผ่องใสด้วยเหตุ ๕.
    ย่อมถึงซึ่งประเภทในฐานะ ๒ เป็นไฉน?
    คือ ในเสกขภูมิ ๑ อเสกขภูมิ ๑.
    ใน ๒ ภูมินั้น ปฏิสัมภิทาของพระมหาเถระ ๘๐ องค์ มีพระเถระผู้มีนามอย่างนี้ คือ พระสารีบุตรเถระ, พระมหาโมคคัลลานเถระ, พระมหากัสสปเถระ, พระมหากัจจายนเถระ, พระมหาโกฏฐิตเถระเป็นต้น ถึงซึ่งประเภทในอเสกขภูมิ, ปฏิสัมภิทาของพระอริยบุคคลทั้งหลายมีพระอริยบุคคลผู้มีนามอย่างนี้ คือพระอานนทเถระ, ท่านจิตตคฤหบดี, ท่านธรรมมิกอุบาสก, ท่านอุบาลีคฤหบดี, ขุชชุตตราอุบาสิกาเป็นต้น ถึงซึ่งประเภทในเสกขภูมิ, ปฏิสัมภิทาย่อมถึงซึ่งประเภทในภูมิ ๒ เหล่านี้ด้วยประการฉะนี้.
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 15 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก สรุปใครบ้าแบบทันตาเห็น แบบ งงไปตามทันที บอกว่าเราไม่เอาพระไตรปิฎก แต่อ้าง อาจารย์แนบก็ไม่เชื่อว่า ท่าน ขุชชุตตราอุบาสิกา ได้ปฎิสัมภิทาญาน มันบ้าแบบทันทีทันใด
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 14 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก คนก็เห่อแห่ไปกันจัง ว่าจะใส่ตั้งแต่วันนั้นแล้ว กลัวเพจล่ม เพราะคนเด่นๆดังๆในเพจเทไปเยอะ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 13 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ที่ต้องออกมา ก็กัลยาณมิตรที่ไม่ทอดทิ้งกัน
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 12 นาที

    Jintana Plangpongpan สาธุ ค่ะ ขอบพระคุณสำหรับการสาธยายธรรมค่ะ
    เลิกถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 12 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก เมื่อยอมแบกหน้า รับผิดชอบชั่วดีไปกับเราโดยไม่กลัวไม่สนว่าจะอายใครๆ ทั้งๆที่ก็ไม่ได้สนิทชิดชอบอันใดกับเรา
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 12 นาที

    Jintana Plangpongpan ส่วนคุณ อนุชิต ที่ห้องนั้น ช่วงนี้ไม่เห็นเข้ามาสนทนาธรรมน่ะค่ะ
    เลิกถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 10 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ขอบคุณสำหรับน้ำใจ อันดีงาม ท่านได้เลือก สหายธรรมกัลยาณมิตรเช่นเรา ไม่มีทางผิดหวังและเสียใจหรอก เรารู้สภาวะธรรมเราดี
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 10 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ถ้าแชร์ไปจะเป็นประโยชน์มากกับสมาชิกในเพจเปิดธรรมครับ ฝากให้คุณ ณัฐ ถ้าจะกรุณา บอกว่าผมฝากให้พิจารณา
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 9 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ช่วยแชร์ให้ทีนะ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 9 นาที

    Jintana Plangpongpan ยินดีค่ะ เดี๋ยวดิฉันจะนำกระทู้นี้ไปโพสต์ที่ช่องความคิดเห็นที่กระทู้นั้น นะคะ จะได้เป็นเรื่องราวต่อเนื่องกัน

    เนื่องจากห้องนั้นมีระเบียบอยู่ หากโพสต์ผิดที่ผู้ดูแลตั้งไว้ อาจจะถูกเชิญออกไปค่ะ
    เลิกถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 2 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก
    ถูกใจ · ตอบกลับ · เมื่อสักครู่


    เขียนข้อความตอบกลับ...



    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก เตือนพวกเขาให้ไปศึกษา ทิฎฐิ 62 พิชัยสงครามของศาสนาพุทธ ให้ดีๆ ของฐานะผู้ถือ ทิฎฐิ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 8 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก นั่นจะเพิ่มปัญญาในการสนทนาโต้เถียงในปัญหาต่างๆว่าควรหรือไม่ควร
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 7 นาที

    Jintana Plangpongpan ดิฉันไม่ได้รู้สึกอายหรือต้องแบกหน้า แต่อย่างใดเลยเมื่อเห็นด้วยกับท่านที่กระทู้นั้นค่ะ อย่ากังวลใจเลยค่ะ
    เลิกถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 7 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก คนมีปัญญาถึงรู้
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 7 นาที

    Jintana Plangpongpan ดิฉันคิดว่าตัวเองไม่ควรประมาทพลาดที่จะได้รู้ธรรมดีๆ จากท่านธรรมบุตร น่ะค่ะ หากมองข้ามท่านไป
    เลิกถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 5 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ศึกษา ทิฎฐิ 62 พิชัยสงครามของศาสนาพุทธ
    ในวงสนทนา ก็จะรู้รอบ ว่า ผู้ใด มีสติปัญญาเพียงเท่าใด
    มีคติเป็นไปในทางใด
    ว่าถูกหรือผิด
    ในสิ่งที่กล่าวมา
    อาศัยเพียง ปริยัติไม่พอ
    ต้องได้ ปฎิบัติ ปฎิเวธด้วย
    และต้องสรุป ให้เป็น สัมมาฯ
    ทั้งปริยัติ ปฎิบัติ ปฎิเวธ

    พิจารณาดังนี้แลฯ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 4 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ยโสชเถรคาถา
    อยู่คนเดียว เป็นพรหม
    อยู่สองคน เป็นเทวดา
    อยู่สามคน เป็นชาวบ้าน
    อยู่มากกว่านั้นก็ยุ่งยากโกลาหล

    (ยถา พฺรหฺมา ตถา เอโก
    ยถา เทโว ตถา ทุเว
    ยถา คาโม ตถา ตโย
    โกลาหลํ ตทุตฺตรึ)

    ภิกษุถูกเหลือบและยุงในป่าใหญ่กัด ควรเป็นผู้มี สติอดกลั้นในอันตรายเหล่านั้น เหมือนช้างในสงคราม ภิกษุอยู่รูปเดียวย่อมเป็นเหมือนพรหม


    อยู่ ๒ รูป เหมือนเทวดา

    อยู่ ๓ รูปเหมือนชาวบ้าน

    อยู่ด้วยกันมาก กว่านั้น ย่อมมีความโกลาหลมากขึ้น

    เพราะฉะนั้น ภิกษุ ควรเป็นผู้อยู่แต่รูปเดียว.
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 4 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ดูกรภิกษุทั้งหลาย ยังมีธรรมอย่างอื่นอีกแลที่ลึกซึ้งเห็นได้ยาก รู้ตามได้ยากสงบ ประณีต จะคาดคะเนเอาไม่ได้ ละเอียด รู้ได้เฉพาะบัณฑิต ซึ่งตถาคตทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งเอง แล้วสอนผู้อื่นให้รู้แจ้ง ที่เป็นเหตุให้กล่าวชมตถาคตตามความเป็นจริงโดยชอบ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 3 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก อีกอย่างนะครับ การที่จะไปคิดว่า การที่พระฉันนะปรณิบัติดูและพระพุทธเจ้า ลำพังเพียงการปฎิบัติเพียงเท่านั้น ก้ได้แต่บุญกุศลเท่านั้น พระองค์ไม่ทรงเพียงพอใจที่พระสาวกได้แค่บุญหรอกครับ ต้องสำเร็จธรรมต้องบรรลุธรรม นั่นคือยอดสุด เป็นแก่นของพระพุทธศาสนา นั่นจึงสมกับการรองรับการพยากรณ์ของพระฉันนะ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · เมื่อสักครู่

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก นั่นเป็นปัญญาของปุถุชน ที่หมิ่นพระราชญานวินิจฉัยขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าครับ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · เมื่อสักครู่


    ข้อความซ้ำเดี๋ยวค่อยมาลบ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 สิงหาคม 2016
  6. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ขอบคุณสำหรับน้ำใจ อันดีงาม ท่านได้เลือก สหายธรรมกัลยาณมิตรเช่นเรา ไม่มีทางผิดหวังและเสียใจหรอก เรารู้สภาวะธรรมเราดี
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 17 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ถ้าแชร์ไปจะเป็นประโยชน์มากกับสมาชิกในเพจเปิดธรรมครับ ฝากให้คุณ ณัฐ ถ้าจะกรุณา บอกว่าผมฝากให้พิจารณา
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 16 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ช่วยแชร์ให้ทีนะ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 16 นาที

    Jintana Plangpongpan ยินดีค่ะ เดี๋ยวดิฉันจะนำกระทู้นี้ไปโพสต์ที่ช่องความคิดเห็นที่กระทู้นั้น นะคะ จะได้เป็นเรื่องราวต่อเนื่องกัน

    เนื่องจากห้องนั้นมีระเบียบอยู่ หากโพสต์ผิดที่ผู้ดูแลตั้งไว้ อาจจะถูกเชิญออกไปค่ะ
    เลิกถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 9 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 6 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก สาธุ สาธุ สาธุ ฯ
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 2 นาที

    Jintana Plangpongpan เรียบร้อยแล้วค่ะ

    เลิกถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 2 นาที

    ปฎิสัมภิทาญาน วิชชาสามอภิญญาหก ประโยชน์ที่ท่านได้ประกอบ จะช่วยเหลือสหายกัลยาณมิตรได้อีกมาก
    ถูกใจ · ตอบกลับ · 1 · 1 นาที


    Jintana Plangpongpan กราบขออภัยค่ะ ทุกท่าน ที่ดันกระทู้นี้ขึ้นมาใหม่ เนื่องจากท่านธรรมบุตร เจ้าของกระทู้นี้ ซึ่งได้ลาออกจากกลุ่มนี้ไปแล้ว และเพิ่งมีโอกาสได้อธิบายเกี่ยวกับเนื้อหาโพสต์นี้เพิ่มเติม จึงได้โพสต์ไว้ที่กลุ่มผู้ร่วมปกป้องพระไตรปิฎก และฝากให้ดิฉันช่วยนำมาแชร์กลุ่มนี้ได้อ่านศึกษาด้วยค่ะ ขอบคุณค่ะ




    ประโยชน์ที่ท่านได้ประกอบ จะช่วยเหลือสหายกัลยาณมิตรได้อีกมาก

    สาธุ สาธุ สาธุ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 26 ธันวาคม 2019
  7. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    พระไตรปิฎก ของโลกมนุษย์ และโลกธาตุอื่น และของพระพุทธเจ้า พระธรรมราชา แตกต่างกันเยอะ

    ไม่เคยเห็น ไม่เคยสัมผัส ก็ไม่มีทางรู้หรอก ก็จะคิดว่า มีเท่านี้เท่านั้น


    ความสำคัญของผู้มีปฎิสัมภิทาญานนั้น คือการปกป้องรักษาพระไตรปิฎกให้กลับคืนมาสู่สัจธรรมอันแท้จริง


    ไม่มีปฎิสัมภิทาญาน ไม่ควรกระทำการสังคายนาพระไตรปิฎก
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  8. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    โดยรวมผู้ที่แสดงธรรมอย่างถึงที่สุด ก็สามารถแสดง นิรุตติญานทัสสนะตามกำลังปัญญาและบุญบารมีที่สั่งสมมาได้



    นิรุตติปฏิสัมภิทาญาน

    นิรุตติปฏิสัมภิทา หมายถึงปัญญาแตกฉานในนิรุตติ, ปรีชาแจ้งในภาษา, รู้ศัพท์ ถ้อยคำบัญญัติ และภาษาต่างๆ เข้าใจใช้คำพูดชี้แจ้งให้ผู้อื่นเข้าใจและเห็นตามได้


    ญาณในนิรุตติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทา
    …..ปัญญาในความต่างแห่งนิรุตติ เป็นนิรุตติ ปฏิสัมภิทาญาณ
    …..ปัญญาในความกำหนดนิรุตติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ
    …..ปัญญาในความหมายนิรุตติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ
    …..ปัญญาในความเข้าไปหมายนิรุตติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ
    …..ปัญญา ในประเภทแห่งนิรุตติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ
    …..ปัญญาในความปรากฏแห่งนิรุตติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ
    …..ปัญญาในความ กระจ่างแห่งนิรุตติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ
    …..ปัญญาในความรุ่งเรืองแห่งนิรุตติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ
    …..ปัญญาในความประกาศนิรุตติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ


    ชื่อว่าญาณ เพราะอรรถว่ารู้ธรรมนั้น ชื่อว่าปัญญา เพราะอรรถว่ารู้ชัด
    เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่าปัญญาในความต่างแห่งนิรุตติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ

    พระโยคาวจรรู้นิรุตติต่างๆ เหล่านี้ด้วยญาณ เป็นอันรู้เฉพาะ นิรุตติต่างๆ เหล่านี้ด้วยญาณ

    การระบุพยัญชนะและนิรุตติเพื่อแสดงธรรม ๕ ประการ ……………………..
    .....สัทธินทรีย์เป็นธรรม
    .....วิริยินทรีย์เป็นธรรม
    .....สตินทรีย์เป็นธรรม
    .....สมาธินทรีย์เป็นธรรม
    .....ปัญญินทรีย์เป็นธรรม



    การระบุพยัญชนะและนิรุตติเพื่อแสดงอรรถ ๕ ประการ ……………………..
    .....สภาพว่าน้อมใจเชื่อเป็นอรรถ
    .....สภาพว่าประคองไว้เป็นอรรถ
    .....สภาพว่าเข้าไปตั้งไว้เป็นอรรถ
    .....สภาพว่าไม่ฟุ้งซ่านเป็นอรรถ
    .....สภาพว่าเห็นเป็นอรรถ



    ธรรมนิรุตติเป็นอย่างหนึ่ง อรรถนิรุตติเป็นอย่างหนึ่ง


    พระโยคาวจรรู้นิรุตติต่างๆ เหล่านี้ด้วยญาณ เป็นอันรู้เฉพาะ นิรุตติต่างๆ เหล่านี้ด้วยญาณนั้นนั่นแล

    เพราะเหตุดังนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาในความต่างแห่งนิรุตติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ ฯ

    พระโยคาวจรรู้นิรุตติต่างๆ เหล่านี้ด้วยญาณ เป็นอันรู้เฉพาะ นิรุตติต่างๆ เหล่านี้ด้วยญาณ


    การระบุพยัญชนะและนิรุตติเพื่อแสดงธรรม ๕ ประการ ……………………..
    สัทธาพละเป็นธรรม
    วิริยพละเป็นธรรม
    สติพละเป็นธรรม
    สมาธิพละเป็นธรรม
    ปัญญาพละเป็นธรรม


    .....สัทธาพละเป็นธรรมอย่างหนึ่ง
    .....วิริยพละเป็นธรรมอย่างหนึ่ง
    .....สติพละเป็นธรรมอย่างหนึ่ง
    .....สมาธิพละเป็นธรรมอย่างหนึ่ง
    .....ปัญญาพละเป็นธรรมอย่างหนึ่ง




    การระบุพยัญชนะและนิรุตติเพื่อแสดงอรรถ ๕ ประการ ……………………..
    สภาพอันไม่หวั่นไหวเพราะความเป็นผู้ไม่มีศรัทธาเป็นอรรถ
    สภาพอันไม่หวั่นไหวเพราะความเกียจคร้านเป็นอรรถ
    สภาพอันไม่หวั่นไหวเพราะความประมาทเป็นอรรถ
    สภาพอันไม่หวั่นไหวเพราะความฟุ้งซ่านเป็นอรรถ
    สภาพอันไม่หวั่นไหวเพราะอวิชชาเป็นอรรถ



    .....สภาพอันไม่หวั่นไหวเพราะความเป็นผู้ไม่มีศรัทธาเป็นอรรถอย่างหนึ่ง
    .....สภาพอันไม่หวั่นไหวเพราะความเกียจคร้านเป็นอรรถอย่างหนึ่ง
    .....สภาพอันไม่หวั่นไหวเพราะความประมาทเป็นอรรถอย่างหนึ่ง
    .....สภาพอันไม่หวั่นไหวเพราะความฟุ้งซ่านเป็นอรรถอย่างหนึ่ง
    .....สภาพอันไม่หวั่นไหวเพราะอวิชชาเป็นอรรถอย่างหนึ่ง


    ธรรมนิรุตติเป็นอย่างหนึ่ง อรรถนิรุตติเป็นอย่างหนึ่ง


    พระโยคาวจรรู้นิรุตติต่างๆ เหล่านี้ด้วยญาณ เป็นอันรู้เฉพาะ นิรุตติต่างๆ เหล่านี้ด้วยญาณนั้นนั่นแล

    เพราะเหตุดังนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาในความต่างแห่งนิรุตติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ ฯ

    พระโยคาวจรรู้นิรุตติต่างๆ เหล่านี้ด้วยญาณ เป็นอันรู้เฉพาะ นิรุตติต่างๆ เหล่านี้ด้วยญาณ



    การระบุพยัญชนะและนิรุตติเพื่อแสดงธรรม ๗ ประการ...............
    สติสัมโพชฌงค์เป็นธรรม
    ธรรมวิจยสัมโพชฌงค์เป็นธรรม
    วิริยสัมโพชฌงค์เป็นธรรม
    ปีติสัมโพชฌงค์เป็นธรรม
    ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์เป็นธรรม
    สมาธิสัมโพชฌงค์เป็นธรรม
    อุเบกขาสัมโพชฌงค์เป็นธรรม


    .....สติสัมโพชฌงค์เป็นธรรมอย่างหนึ่ง
    .....ธรรมวิจยสัมโพชฌงค์เป็นธรรมอย่างหนึ่ง
    .....วิริยสัมโพชฌงค์เป็นธรรมอย่างหนึ่ง
    .....ปีติสัมโพชฌงค์เป็นธรรมอย่างหนึ่ง
    .....ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์เป็นธรรมอย่างหนึ่ง
    .....สมาธิสัมโพชฌงค์เป็นธรรมอย่างหนึ่ง
    .....อุเบกขาสัมโพชฌงค์เป็นธรรมอย่างหนึ่ง



    การระบุพยัญชนะและนิรุตติเพื่อแสดงอรรถ ๗ ประการ …………………….
    .....สภาพที่ตั้งมั่น
    .....สภาพที่เลือกเฟ้น
    .....สภาพที่ประคองไว้
    .....สภาพที่แผ่ซ่านไป
    .....สภาพที่สงบ
    .....สภาพที่ไม่ฟุ้งซ่าน
    .....สภาพที่พิจารณาหาทางและเข้าไปตั้งอยู่ เป็นอรรถ



    ธรรมนิรุตติเป็นอย่างหนึ่ง อรรถนิรุตติเป็นอย่างหนึ่ง


    พระโยคาวจรรู้นิรุตติต่างๆ เหล่านี้ด้วยญาณ เป็นอันรู้เฉพาะ นิรุตติต่างๆ เหล่านี้ด้วยญาณนั้นนั่นแล

    เพราะเหตุดังนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาในความต่างแห่งนิรุตติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ ฯ

    พระโยคาวจรรู้นิรุตติต่างๆ เหล่านี้ด้วยญาณ เป็นอันรู้เฉพาะ นิรุตติต่างๆ เหล่านี้ด้วยญาณ



    การระบุพยัญชนะและนิรุตติเพื่อ แสดงธรรม ๘ ประการ...............
    สัมมาทิฐิ เป็นธรรม
    สัมมาสังกัปปะ เป็นธรรม
    สัมมาวาจา เป็นธรรม
    สัมมากัมมันตะ เป็นธรรม
    สัมมาอาชีวะ เป็นธรรม
    สัมมาวายามะ เป็นธรรม
    สัมมาสติ เป็นธรรม
    สัมมาสมาธิ เป็นธรรม

    …..สัมมาทิฐิ เป็นธรรมอย่างหนึ่ง
    …..สัมมาสังกัปปะ เป็นธรรมอย่างหนึ่ง
    …..สัมมาวาจา เป็นธรรมอย่างหนึ่ง
    …..สัมมากัมมันตะ เป็นธรรมอย่างหนึ่ง
    …..สัมมาอาชีวะ เป็นธรรมอย่างหนึ่ง
    …..สัมมาวายามะ เป็นธรรมอย่างหนึ่ง
    …..สัมมาสติ เป็นธรรมอย่างหนึ่ง
    …..สัมมาสมาธิ เป็นธรรมอย่างหนึ่ง



    การระบุพยัญชนะและนิรุตติเพื่อ แสดงอรรถ ๘ ประการ…………………….
    .....สภาพที่เห็น
    .....สภาพที่ดำริ
    .....สภาพที่กำหนดเอา
    .....สภาพที่เป็นสมุฏฐาน
    .....สภาพที่ขาวผ่อง
    .....สภาพที่ประคองไว้
    .....สภาพที่ตั้งมั่น
    .....สภาพที่ไม่ฟุ้งซ่าน



    ธรรมนิรุตติเป็นอย่างหนึ่ง อรรถนิรุตติเป็นอย่างหนึ่ง



    พระโยคาวจรรู้นิรุตติต่างๆ เหล่านี้ด้วยญาณ เป็นอันรู้เฉพาะ นิรุตติต่างๆ เหล่านี้ด้วยญาณนั้นนั่นแล



    เพราะเหตุดังนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ปัญญาในความต่างแห่งนิรุตติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ ฯ

    ในบทเหล่านั้น

    [1]
    บทว่า นานตฺเต - ในความต่างกัน คือในภาวะไม่น้อยแห่งอรรถเป็นต้น.

    [2]
    บทว่า ววตฺถาเน - ในความกำหนด คือในการตัดสินอรรถเป็นต้น.

    [3]
    บทว่า สลฺลกฺขเณ - ในความหมาย คือในการเห็นอรรถเป็นต้นโดยชอบ.

    [4]
    บทว่า อุปลกฺขเณ - ในความเข้าไปหมาย คือในการเห็นอรรถเป็นต้นมากขึ้นไป.

    [5]
    บทว่า ปเภเท - ในประเภท คือในความต่างกันแห่งอรรถเป็นต้น.

    [6]
    บทว่า ปภาวเน - ในความปรากฏ คือในความเกิดแห่งอรรถเป็นต้น
    ด้วยทำให้ปรากฏ.

    [7]
    บทว่า โชตเน - ในความกระจ่าง คือในการแสดงอรรถเป็นต้น.

    [8]
    บทว่า วิโรจเน - ในความรุ่งเรือง คือในการแสดงอรรถเป็นต้นหลายอย่าง.

    [9]
    บทว่า ปกาสเน - ในความประกาศ คือในความประกาศอรรถ เป็นต้น.





    [1]
    ในกล่าวทำบทว่า นานตฺเต ให้เป็นมูลบทด้วยสามารถทั่วไปแห่งบททั้งหมด.

    [2]
    กล่าวบทว่า ววตฺถาเน ด้วยสามารถแห่งพระโสดาบัน

    [3] [4]
    กล่าวบทว่า สลฺลกฺขเณ อุปลกฺขเณ ด้วยสามารถแห่งพระสกทาคามี.

    [5] [6]
    กล่าวบทว่า ปเภเท ปภาวเน ด้วยสามารถแห่งพระอนาคามี.

    [7] [8] [9]
    กล่าวบทว่า โชตเน วิโรจเน ปกาสเน ด้วยสามารถแห่งพระอรหันต์

    พึงทำการประกอบในบทเหล่านี้ ด้วยประการฉะนี้.


    อรรถปฏิสัมภิทาญาณ
    ธรรมปฏิสัมภิทาญาณ
    นิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ
    ปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณ อย่างไร ฯ


    -------------------------------


    ญาณในอรรถ เป็นอรรถปฏิสัมภิทา
    ญาณในธรรม เป็นธรรมปฏิสัมภิทา
    ญาณในนิรุติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทา
    ญาณในปฏิภาณ เป็นปฏิภาณปฏิสัมภิทา

    [1]
    ปัญญาในความต่างแห่งอรรถ เป็นอรรถปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในความต่างแห่งธรรม เป็นธรรมปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในความต่างแห่งนิรุติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในความต่างแห่งปฏิภาณ เป็นปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณ

    [2]
    ปัญญาในความกำหนดอรรถ เป็นอรรถปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในความกำหนดธรรม เป็นธรรมปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในความกำหนดนิรุติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในความกำหนดปฏิภาณ เป็นปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณ

    [3]
    ปัญญาในความหมายอรรถ เป็นอรรถปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในความหมายธรรม เป็นธรรมปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในความหมายนิรุติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในความหมายปฏิภาณ เป็นปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณ

    [4]
    ปัญญาในความเข้าไปหมายอรรถ เป็นอรรถปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในความเข้าไปหมายธรรม เป็นธรรมปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในความเข้าไปหมายนิรุติ เป็นนิรุติปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในความเข้าไปหมายปฏิภาณ เป็นปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณ

    [5]
    ปัญญาในประเภทแห่งอรรถ เป็นอรรถปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในประเภทแห่งธรรม เป็นธรรมปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในประเภทแห่งนิรุติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในประเภทแห่งปฏิภาณ เป็นปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณ

    [6]
    ปัญญาในความปรากฏแห่งอรรถ เป็นอรรถปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในความปรากฏแห่งธรรม เป็นธรรมปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในความปรากฏแห่งนิรุติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในความปรากฏแห่งปฏิภาณ เป็นปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณ

    [7]
    ปัญญาในความกระจ่างแห่งอรรถ เป็นอรรถปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในความกระจ่างแห่งธรรม เป็นธรรมปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในความกระจ่างแห่งนิรุติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในความกระจ่างแห่งปฏิภาณ เป็นปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณ

    [8]
    ปัญญาในความรุ่งเรืองแห่งอรรถ เป็นอรรถปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในความรุ่งเรืองแห่งธรรม เป็นธรรมปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในความรุ่งเรืองแห่งนิรุติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในความรุ่งเรืองแห่งปฏิภาณ เป็นปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณ

    [9]
    ปัญญาในความประกาศอรรถ เป็นอรรถปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในความประกาศธรรม เป็นธรรมปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในความประกาศนิรุติ เป็นนิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ
    ปัญญาในความประกาศปฏิภาณ เป็นปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณ ฯ




    ชื่อว่าญาณ เพราะอรรถว่ารู้ธรรมนั้น
    ชื่อว่าปัญญา เพราะอรรถว่ารู้ชัด

    เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า
    อรรถปฏิสัมภิทาญาณ ธรรมปฏิสัมภิทาญาณ
    นิรุตติปฏิสัมภิทาญาณ ปฏิภาณปฏิสัมภิทาญาณ ฯ
     
  9. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ถ้ารู้ ทิฏฐิ 62 พิชัยสงครามอันยอดเยี่ยมของศาสนาพุทธ ก็จะเข้าใจว่า ชนเหล่านั้น เป็นผู้สามารถถือทิฎฐิได้ แม้จะเป็นมิจฉาทิฎฐิก็ตาม จะกล่าวกระไรเลยกับผู้ที่มีสัมมาทิฎฐิ ผู้ที่ไม่มีแม้จะมีฐานะในการถือทิฎฐิเลยต่างหากเป็นผู้ที่ช่างน่าละอาย แก่ธรรมของบัณฑิตทั้งหลายฯ ถ้ารู้ ขอนี้ ก็จะสามารถแยกแยะผู้เป็นปริยัติงูพิษ ออกจากผู้มีสติปัญญาในธรรมอย่างแท้จริงได้ และพระพุทธศาสนา เป็นศาสนาที่ไม่มีสถานะเป็นเหรียญสองด้านคือให้โทษโดยการลงโทษ เป็นศาสนาที่นำพาความเจริญมาให้แก่ผู้ปฎิบัติตามแต่เพียงฝ่ายเดียว มีแต่ให้คุณ ซึ่งแตกต่างจากศาสนาหรือลัทธิอื่นดังที่กล่าวมา
     
  10. ธรรมแท้ว่าง

    ธรรมแท้ว่าง กายเบาใจเบา

    วันที่สมัครสมาชิก:
    19 มีนาคม 2011
    โพสต์:
    12,288
    ค่าพลัง:
    +12,620
    อ่านมากี่บรรทัด ถึงมาเม้นท์แบบนี้
    จขกท.เปิดเผยความจริงจากปรากฏการณ์เพื่อให้ความรู้
    แก่พุทธชนโดยปฏิสัมภิทาญาณ...
    สุมไฟตรงไหน? มาตัดไฟที่กำลังลุกลามล่ะไม่ว่า
     
  11. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    สงสัยคงจะลืมคิดลืมพิจารณาไปว่า สำนักวัดนาป่าพงและศิษย์ทั้งหลาย ไม่สามารถที่จะเป็นผู้ที่ถือ ทิฏฐิได้ การที่เราใส่ข้อความลงไปว่า ถ้าพวกวัดนาฉลาดในธรรม ทิฏฐิ62 นี้เข้าจริงๆ ก็ต้องยุบสำนักทิ้งเลยทีเดียว
     
  12. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201


    นี่จงใจโง่ หรือ แกล้งอมภูมิส่งข้อความดันกระทู้กันนะ (ให้โอกาสที่จะฉลาดได้บ้าง)
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 สิงหาคม 2016
  13. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ข้าเก่งข้ารู้ดีที่สุด ทั้งที่ก็ไม่ถึงที่สุด ก็ลงเหวทั้งหมด น่าสังเวชจริงๆ พวกตก ทิฏฐิ 62


    สำนักวัดนาป่าพงและศิษย์ทั้งหลาย ไม่สามารถที่จะเป็นผู้ที่ถือ ทิฏฐิได้ การที่เราใส่ข้อความลงไปว่า ถ้าพวกวัดนาฉลาดในธรรม ทิฏฐิ62 นี้เข้าจริงๆ ก็ต้องยุบสำนักทิ้งเลยทีเดียว แค่ไม่เอาความคิดเห็นของธรรมทายาทของพระสงฆ์สาวกโดยนิรุตติญานทัสสนะหรือการแสดงกถาธรรมต่างๆ ก็หมดสถานะผู้ถือทิฏฐิแล้ว ไม่ต้องพิจารณาธรรมข้ออื่นโดยสัจฉิกัฐปรมัติธรรมเลย ผู้ปฎิเสธในสิ่งที่เราแสดงและเหล่าบุคคลที่ถือดีเห็นดีตาม ก็ไม่แตกต่างกัน ไม่สามารถเป็นผู้ถือทิฏฐิโดยสมบูรณ์ได้ ผิดทั้งกลามสูตรฯ ทั้งสัจฉิกัฐปรมัติธรรม โดยทิฏฐิ62 ประการ เก่งธรรมอื่นแต่ไม่ผ่าน ทิฏฐิ62 อย่าฝันได้สัมมาทิฏฐิ และไม่มีวันที่จะจำแนกบุคคลหรือเหตุการณ์ สภาวะอันหนักเบาและเร่งด่วนในกรณีหรือข้อพิพาทต่างๆที่มีมาในอาสวัฏฐานิยธรรมและในข้ออื่นๆได้เลยทั้งกระบวนธรรม
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 11.jpg
      11.jpg
      ขนาดไฟล์:
      14.5 KB
      เปิดดู:
      86
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 สิงหาคม 2016
  14. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    วางใจให้เป็นกลาง ถึงเวลา แม้ไม่อยากจะเห็นอยากจะรู้ธรรมใด ธรรมเหล่านั้นก็จะปรากฎขึ้นมาเอง แม้ไม่ได้ปรารถนาก็ตาม จริงอยู่ที่กรณีที่ท่านเสนอมา เราเป็นผู้มีสหาย เป็นผู้ได้กัลยาณมิตรที่ดี และมีหมู่มิตรต่างๆ ต้องการส่งข้อความมาให้เรารับแอตเป็นจำนวนมาก บอกตามตรงสภาวะของเรา ควรอยู่และพิจารณาเพียงผู้เดียว เมื่อถึงเวลาเรามีการปรารภถึงเราก็ถามหาตามหาอย่างถามถึงท่านทั้งสองนี้แล จะได้ไม่ไปพบเจอสิ่งที่ไม่สบายใจ ขัดใจ หรือไม่ชอบใจ เราจึงต้องระมัดระวังธรรมารมณ์ในสิ่งที่มากระทบ คิดว่าเราเป็นเพียงเด็กอายุ10ขวบหรือลูกหมาลูกแมวนกตัวหนึ่งก็พอ จิตใจเราเสมอด้วยสัตว์เหล่านั้น แม้แมลงป่องตะขาบที่ไต่ตัวเราทำร้ายเราก็มิได้คิดทำร้ายเขาเลย วางจิตให้ได้อย่างนี้ แลจึงบริสุทธิ์และอยู่ในโลกที่มีแต่มายาคติได้ ใจต้องสงบ เป็นอย่างนี้แล จึงเป็นผู้ที่เกลียดกายทุจริต วาจาทุจริต ใจทุจริตแม้ของตนเองและผู้อื่นนั้นด้วย เราไม่ชอบ แต่ก็พยายามลดห้ามจริตที่เคยมีดุจยักษ์และมารของตนเอง รักษาธรรม รักษาตนนั้นให้ดี อยู่ห่างๆอย่างห่วงๆแนะนำตามกาลนั้นดีที่สุด อยู่คนเดียวเป็นพรหม อยู่สองคนเป็นเทวดา อยู่สามคนเป็นชาวบ้าน อยู่มากกว่านั้นก็เละเทะ เหมือนอย่างที่เห็น เละทั้งใครอยากคิดอยากพูดอะไรก็พูดแม้ว่าจะผิดก็พูด นี่มิใช่วิสัยของผู้ที่จะเจริญในธรรมได้ สาธุธรรมฯ



    เล่าสู่กันฟัง
    ขณะตัดหญ้าในสวนยางพาราด้วยเครื่องชนิดใบพัดแบบสะพายบ่า นานกว่าครึ่งชั่วโมง ในวันที่ 13/8/2559 นึกว่าเป็นแรงสั่นสะเทือนของใบพัด ก็ไม่นึกว่าอะไรเข้าไปอยู่ในเสื้อ นึกว่าเป็นเพราะใส่ชุดรัดกุมและสายสะพายบ่าอาจจะกดทับเส้นประสาทต่างๆจึงทำให้ดูเหมือนมีอะไรไต่ไปมา นานสองนาน เริ่มเอ่ะใจ ถึงสภาพความผิดปกติของสิ่งแปลกปลอมในเสื้อแขนยาว รู้สึกมันจะไต่รอบตัวนานและมันจะมากไปหน่อยแล้ว ในที่สุดก็รู้ เอาแล้วไงจึงค่อยๆ ถอดสายสะพายและค่อยๆแกะกระดุมเสื้อแขนยาว อย่างระมัดระวัง ไต่ได้ไต่ไป ในที่สุดตะขาบไฟแดงตัวขนาดนิ้วหัวแม่มือและยาวประมาณ 8-9 นิ้ว สรุปก็ พาไปปล่อย ยกมือสาธุฯ และให้อธิษฐานให้พรแก่ตะขาบไฟแดงตัวนั้นไป

    อาการของพิษ
    โดยทั่วไปพิษของตะขาบไม่สามารถทำให้คนเราเสียชีวิตได้ แต่ทำให้เกิดอาการของพิษเล็กน้อยเท่านั้น ลักษณะของแผลที่ถูกตะขายต่อยจะมีลักษณะคล้ายเข็มแทง พิษของตะขาบประกอบด้วยสาร hydroxytryptamine หรือ cytolysin ที่มีฤทธิ์ทำให้เกิดอาการปวด ชา อักเสบ และบวม แดง บริเวณที่ถูกกัด ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เนื้อเยื่อบริเวณดังกล่าวเกิดการอักเสบ และขาดเลือด จนถึงทำให้เนื้อเยื่อตายในที่สุดหากไม่ได้รับการถอนพิษออก

    ทั้งนี้ หากเกิดการต่อยในเด็ก อาการของพิษจะมีลักษณะบวมแดง และปวดมากกว่าผู้ใหญ่ จนอาจทำให้เกิดอาการเป็นไข้ร่วมด้วย นอกจากนั้น ยังมีรายงานทางการแพทย์ที่พบผู้เสียชีวิตจากการนำตะขาบทั้งตัวมา ดองเหล้าดื่ม และทำให้เกิดการเสียชีวิต เพราะเป็นสาเหตุให้อวัยวะภายในได้รับพิษโดยตรง และเกิดการล้มเหลวของการทำงานบริเวณอวัยวะ และบริเวณไกล้เคียง ซึ่งเป็นภาวะการเสียชีวิตจากอวัยวะภายในได้รับพิษ


    นอนบนที่นอนในบ้านสวน แมลงป่องบ้านต่อยแขนซ้าย ตั้งสัจจะอธิษฐานให้พิษจงคลายและจงเป็นประโยชน์อย่าได้เป็นโทษแก่สังขารอันที่เราอาศัย เมื่อคืนวันที่ 15/8/2559 สรุปเจอเจ้าตัวก็บอกบุญไปและจับไปปล่อย

    มงป่องบ้าน มีลักษณะกล้ามเล็กกว่าหาง ซึ่งเป็นที่แน่นอนว่าพิษของแมงป่องบ้านทำให้เกิดอาการพิษที่รุนแรงกว่าแมงป่อง 2 ชนิดที่กล่าวมา อาการที่เกิดจะมีลักษณะบวมแดง ปวดบริเวณจุดที่โดนต่อย และบริเวณข้างเคียง อาการปวดจะรุนแรง บางรายที่ได้รับพิษมาก โดยเฉพาะเด็ก อาจทำให้เกิดเป็นไข้ และมีอาการชัก

    แมงป่องเป็นสัตว์ที่ชอบสถานที่มืด ไม่มีแสง ออกหากินในเวลากลางคืน กลางวันชอบอาศัยอยู่ตามเศษกองไม้ ใบไม้ ช่องไม้ตามบ้านเรือน และอาจพบอาศัยตามเสื้อผ้าของเราด้วยเช่นกัน ดังนั้น คนที่มักโดนต่อยส่วนมากจะพบว่ามีการโดนต่อยเมื่อสวมเสื้อผ้าหรือสวมใส่อุปกรณ์ต่างๆ โดยไม่รู้ตัวว่ามีแมงป่องหลบซ่อนอยู่

    ในบางประเทศหรือบางท้องถิ่นมีการนำแมงป่องมารับประทานเป็นอาหาร เช่น ประเทศจีน รวมถึงเมืองไทยในบางท้องที่ด้วย เช่น ในภาคอีสานมีการรับประทานแมงป่องช้างที่จับได้ตามไร่นาด้วยการตัดบริเวณหางที่มีพิษออก แต่ก็มีบางรายที่รู้เท่าไม่ถึงการด้วยการนำมาดองเหล้าดื่มทั้งตัวทำให้ได้รับพิษเจ็บป่วยเข้าโรงพยาบาลแล้วหลายราย

    อาการของพิษ
    พิษของแมงป่องมีทั้งแบบที่เป็นเอนไซม์ เช่น phospholipase A2, phosphoesterases, hyaluronidase มีผลในการทำในการทำลายเนื้อเยื่อ พิษแบบ neurotoxin มีฤทธิ์ต่อระบบประสาททำให้รู้สึกปวดชาในบริเวณที่ถูกต่อย แต่อาจมีอาการปวดมากน้อยขึ้นอยู่กับชนิดของพิษ โดยมีอาการโดยทั่วไป แบ่งตามระดับความรุนแรง ดังนี้
    1. เกิดแผล บวมพองหรือเป็นตุ่มแดงบริเวณที่ถูกต่อย พร้อมกับอาการคัน ปวดตามมาหลังการต่อยครึ่งถึง1 ชั่วโมง
    2. บางชนิดมีพิษที่รุนแรงเพิ่มขึ้นอาจทำให้เกิดอาการปวดแสบไปทั่วอวัยวะข้าง เคียงบริเวณจุดที่ต่อย ร่วมด้วยมีชีพจรเต้นเร็ว และความดันโลหิตสูงขึ้น
    3. มีอาการผิดปกติของกล้ามเนื้อ เช่น กระกระตุก การชา เป็นต้น
    4. ในส่วนของพิษแมงป่องชนิดร้ายแรงจะมีลักษณะแผลที่ถูกต่อยเหมือนข้างต้น ตามมาด้วยระบบการทำงานของร่างกายมีความผิดปกติ อาจมีอาการชัก และเสียชีวิตตามมาหากรักษาไม่ทัน เช่น ในสายพันธุ์ Centruroides exilicauda ในสหรัฐอเมริกา


    แต่กับลูกงูเห่าที่เราสังหารไปบริเวณบ้าน 3 ตัวนี่สิ เพราะมีเด็กๆลูกหลานของผู้มีคุณอยู่ด้วย และกลัวจะเป็นอันตรายในวันข้างหน้า เราจึงกลั้นใจลงมือสังหารไปและกล่าวถึงท้าววิรูปักว่าเราได้สังหารบริวารท่านอีกแล้ว พร้อมอุทิศอธิษฐานจิตอันเป็นปัจจัยแก่ภพภูมิในภายภาคหน้าแก่อสรพิษเหล่านั้น

    จิตใจเราไม่พยาบาท ไม่เป็นไม่เหมือนอย่างเดิมแล้ว ทำสวนทีไรต้องคอยระวังไม่ให้สับโดน อึ่งอ่าง ต้องอุ้มไปขุดรูใหม่ให้อยู่ทุกที

    จะมีสักกี่คนที่ทำสวนไปพิจารณาธรรมไป พอมาดูผลลัพท์อีกที ดินที่ขุดขนไปก็สูงเหมือนรถหกล้อขนมาเทโดยทีเดียว จอบฉีก มีดพร้าคมสึก มือพอง นี่เป็นความเพลิดเพลินใจอย่างหนึ่งในการทำงาน
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 สิงหาคม 2016
  15. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    ทิฏฐิ 62 เราแสดงไปด้วยความกล้ำกลืนที่ต้องทำลายวาทะของผู้เห็นผิด และตอบแทนผู้ไม่ทอดทิ้งเรา ผลก็คือ ผู้ที่มีจริตและสติปัญญายังไม่เจริญมากพอและไม่รู้ในพิชัยสงครามของพระพุทธศาสนา ในฐานะของผู้ถือทิฏฐิต้องอับอายไปตามกัน เรารู้ว่าเขาอับอายที่ไม่พิจารณาให้ดีในการที่จะเสวนากับบุคคลใด ว่าเขาคนนั้นมีคติ ทิฏฐิที่สมบูรณ์หรือไม่ มีคุณสมบัติในสากัจฉสูตรหรือเปล่า แปลกนะที่บ้าปริยัติคนเราคบกันโดยธาตุหลงธรรม เป็นอย่างนี้นี่เอง
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • 77.jpg
      77.jpg
      ขนาดไฟล์:
      7.7 KB
      เปิดดู:
      96
  16. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    หลังจากนี้ จะเกิด เหตุให้พระธรรมวินัยเสื่อมมากขึ้นเรื่อยๆ ดังที่เราได้เห็นในนิมิตในสองวันสองคืนที่ผ่านมา ของเหล่าภิกษุผู้มีตัณหาความทะยานอยากขวนขวายในสิ่งที่มิใช่ประโยชน์


    พุทธดำรัสตอบ “..... ดูก่อนภัททาลิ ข้อนี้เป็นจริงอย่างนั้น เมื่อสัตว์ทั้งหลายกำลังเสื่อม พระสัทธรรมกำลังอันตรธาน สิกขาบทมีอยู่มากมาย แต่ภิกษุดำรงอยู่ในอรหัตตผลน้อยนัก พระศาสดายังไม่ทรงบัญญัติสิกขาบทแก่สาวกทั้งหลาย ตราบเท่าที่อาสวัฏฐานิยธรรม (ธรรมอันก่อให้เกิดอาสวะ) บางเหล่ายังไม่ปรากฏในสงฆ์ในธรรมวินัยนี้ ต่อเมื่อใดอาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่าปรากฏขึ้นในสงฆ์ในธรรมวินัยนี้ เมื่อนั้นพระศาสดาจึงทรงบัญญัติสิกขาบทแก่สาวกทั้งหลาย เพื่อกำจัดอาสวัฏฐานิยธรรมเหล่านั้น อาสวัฏฐานิยธรรมธรรมบางเหล่ายังไม่ปรากฏในสงฆ์ในพระธรรมวินัยนี้ ตราบเท่าที่สงฆ์ยังไม่ถึงความเห็นหมู่ใหญ่..... อาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่ายังไม่ปรากฏในสงฆ์ในพระธรรมวินัยนี้ ตราบเท่าที่สงฆ์ยังไม่ถึงความเป็นผู้เลิศ ด้วยลาภ.... ยังไม่ถึงความเป็นผู้เลิศด้วยยศ....... ยังไม่ถึงความเป็นพหูสูตร..... ยังไม่ถึงความเป็นรัตตัญญู ต่อเมื่อใดสงฆ์ถึงความเป็นรัตตัญญู เมื่อนั้นอาสวัฏฐานิยธรรมบางเหล่าจึงปรากฏในสงฆ์ ในธรรมวินัยนี้ ครั้งนั้นพระศาสดาจึงทรงบัญญัติสิกขาบทแก่สาวกทั้งหลาย เพื่อกำจัดอาสวัฏฐานิยธรรมเหล่านั้น ฯ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 สิงหาคม 2016
  17. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    นี่แหละความหนักเบาของ ทิฏฐิ 62 ประการอย่างหนึ่ง ในการตัดสินพิจารณา อาสวัฏฐานิยธรรมต่างๆ ว่าสิ่งนั้นควรหรือไม่ควรปฎิบัติ และยังทำให้เกิดข้อพิจารณาสำคัญในการตัดสิน พิจารณาธรรมอันตรงดิ่ง ไม่อ้อมค้อม ให้เกิดผลว่าธรรมนี้เกี่ยวข้องและเกี่ยวเนื่องกัน ส่งผลดีร้ายแตกต่างกันในการสงเคราะห์ธรรมและไม่สงเคราะห์กันเป็นต้น ตามเหตุและปัจจัยความสำคัญเร่งด่วนในการวิสัชนาธรรมข้อพิพาทในข้อธรรมต่างๆได้เป็นอย่างดี


    ~❖~ พระพุทธภาษิต ~❖~

    ปวิเวกรสํ รสํ อุปสมสฺส จ
    นิทฺทโร โหติ นิปฺปาโป ธมฺมปีติรสํ ปิวํ ฯ


    บุคคลผู้ดื่มรสอันเกิดแต่วิเวก รสแห่ง
    ธรรม เครื่องเข้าไปสงบกิเลส ดื่มรสแห่งปีติ
    อันเกิดแต่ธรรมแล้ว ย่อมเป็นผู้หมดความ
    กระวนกระวายไม่มีบาป


    ~❖~๐~❖~๐~❖~๐~❖~๐~❖~๐~❖~๐~❖~



    สาหุ ทสฺสนมริยานํ สนฺนิวาโส สทา สุโข
    อทสฺสเนน พาลานํ นิจฺจเมว สุขี สิยา
    พาลสงฺคตจารี หิ ทีฆมทฺธาน โสจติ
    ทุกฺโข พาเลหิ สํวาโส อมิตฺเตเนว สพฺพทา
    ธีโร จ สุขสํวาโส ญาตีนํว สมาคโม
    ตสฺมา หิ ธีรญฺจ ปญฺญญฺจ พหุสฺสุตญจ
    โธรยฺหสีลํ วตวนฺตมริยํ
    ตํ ตาทิสํ สปฺปุริสํ สุเมธํ
    ภเชถ นกฺขตฺตปถํว จนฺทิมา ฯ


    การได้เห็นพระอริยเจ้า ได้อยู่ร่วมกับ
    พระอริยเจ้า เป็นความสุขทุกเมื่อ บุคคลจะ
    มีความสุขอยู่ได้ยั่งยืน เพราะไม่ได้คบเห็น
    คนพาล จริงทีเดียว การคบคนพาลก่อให้เกิด
    ความโศกตลอดกาลนาน การสมาคมด้วย
    คนพาลเป็นทุกข์ เหมือนอยู่ร่วมด้วยศัตรู

    ส่วนนักปราชญ์ใครอยู่ร่วมด้วยก็มีความสุข
    เหมือนสมาคมกับหมู่ญาติ เพราะฉะนั้น
    ผู้ฉลาดพึงคบนักปราชญ์ผู้มีปัญญา เป็น
    พหูสูต มีปกตินำธุระไป

    มีวัตรดี ประเสริฐ เป็นสัตบุรุษ มีปัญญาดี
    เหมือนดวงจันทร์คบท้องฟ้าฉะนั้น


    ~❖~๐~❖~๐~❖~๐~❖~๐~❖~๐~❖~๐~❖~

    หากจะถามอย่างใช้ปัญญา ถ้าเป็นสงฆ์ควรใช้โทรศัพท์หรือเครื่องมือติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ตและอีก ฯลฯหรือไม่ ?

    ธรรมใดก็ตาม ที่ทำให้เกิดอาสวัฏฐานิยธรรม แม้เพียง ๑ ก็ควรยุติ ธรรมเหล่านั้น


    คบคนพาล พาลพาไปหาผิด

    ปูติมจฺฉํ กุสคฺเคน โย นโร อุปนยฺหติ
    กุสาปิ ปูติ วายนฺติ เอวํ พาลูปเสวนา.

    คนห่อปลาเน่าด้วยใบหญ้าคา แม้หญ้าคาก็พลอยเหม็นเน่าไปด้วยฉันใด การคบกับคนพาลก็ฉันนั้น.
    (ราชธีตา) ขุ. ชา. มหา. ๒๘/๓๐๓.
    คำว่า คนพาล ก็คือ คนชั่ว ได้แก่ คนประพฤติเลวทรามทางกาย วาจา ใจ พระพุทธองค์ตรัสไว้ในพาลบัณฑิตสูตร อุปริปัณณาสก์ว่า อิธภิกฺขเว พาโล ทุจฺจินฺติตจินฺตี จ โหติ ทุพฺภาสิตภาสี จ ทุกฺกฎกมฺมการี จ แปลว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย คนพาลในโลกนี้ย่อมคิดแต่เรื่องที่ชั่ว ย่อมกล่าวแต่คำที่ชั่วและย่อมทำแต่กรรมที่ชั่ว คือ ย่อมชักนำผู้คบกับตนให้คิดชั่ว กล่าวชั่ว ทำชั่วตาม ชักชวนดื่มน้ำเมา เที่ยวกลางคืน มัวเมาในการเล่น เล่นการพนัน คนพาลทำลายความสุขความเจริญทั้งฝ่ายตนเองและผู้อื่น ยึดถือเอาแต่สิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ทั้งสองฝ่าย คือทำความพินาศให้เกิดขึ้นแก่ตนและคนอื่น เพราะใจไม่ยึดธรรมเป็นหลัก
    ถ้าใครคบคนพาล ย่อมจะทำให้ความประพฤติของตนเองเลวลง มีแต่ความเดือดร้อนในที่สุดก็ต้องพินาศล่มจมเหมือนคนเอาใบหญ้าคาห่อปลาเน่า ใบหญ้าคาก็พลอยเหม็นไปด้วย ฉะนั้น.


    แม้เกิดเพียงหนึ่งนั่นก็คือ รากเหง้าของอกุศลมูล ย่อมเจริญต่อไป


    "คำสอนศาสนายุคใหม่"

    " ภิกษุทั้งหลายฯ พวกเธอจงใช้โทรศัพท์ เครื่องมือติดต่อสื่อสาร โซเชี่ยล สื่อต่างๆและจงวิ่งตามให้ทันกระแสโลกเถิด คำสอนของเก่าๆมันล้าสมัย มันไม่เป็นอกาลิโก มันต้องไปคอยตามอกตามใจชาวบ้านญาติโยมบริษัททั้งหลายฯ จึงจะดี จะได้เป็นกำลังของเรา พวกเธอมีความเห็นอื่นเพิ่มเติมไหม พวกเธอปรารถนาอะไรในชีวิตที่เป็นสมณะศากยบุตรบ้าง"


    ภิกษุ๑ " จะให้ใช้เครือข่ายกี่Gจึงจะเป็นการดี และใช้เครื่อข่ายของบริษัทโทรคมนาคมเครือข่ายใดดีเจ้าข้า

    ภิกษุ๒ " เราจะต้องสร้างความเลื่อมใสศรัทธาให้มากๆ เพื่อที่จะได้ญาติโยมนำ ลาภ สักการระ เพื่อนำมาให้เราใช้ในการจ่ายค่าบริการทางการติดต่อสื่อสารทุกๆวัน/เดือน/ปีเจ้าข้า

    ภิกษุ๓ "และเราต้องหามือถือเทรน ไอแพด ไฮโซไวไฟแบบไฮเทคตามสมัยอยู่เสมอๆจะได้ไม่ตกรุ่นด้วย จะได้ไม่มีใครนินทาว่าเราใช้เครื่องราคาถูกนั้นด้วยเจ้าข้า

    ภิกษุ๔ "เราจะต้องติดตามข่าวสารบ้านเมือง วงจรชีวิต ชีวิตดารา นักร้อง นักแสดง เพลง งานเขียน นิยาย หนังละคร กีฬา หวย มวยกีฬาบัตร ให้ครบเครื่อง จะได้เพลิดเพลินอย่างมีความสุขตลอดชีวิตเจ้าข้า

    ภิกษุ๕ "เราจะต้องสั่งสมข้าวปลาอาหาร ข้าวของเครื่องใช้ เฟอร์นิเจอร์ต่างๆอันสวยหรูและปราณีต ที่นั่งตั่งนอนที่มีคุณค่าราคาแพง สารพัดเครื่องใช้ไฟฟ้า ทีวี ตู้เย็น พัดลม แอร์ รถรา ข้าทาส ที่ดิน ทรัพย์สินเงินทองและเหล่าบริวาร ตลอดจนสิ่งอำนวยความสะดวกทางโลกให้มากๆตลอดจนอาวุธยุทโธปกรณ์ให้มากๆด้วยเพื่อแสดงอิทธิพลความเก่งกาจและน่าเกรงขามต่อผู้พบเห็นเจ้าข้า




    ดีแล้ว เอาอย่างนี้แหละพวกเธอทั้งหลายฯ เอาที่ทันสมัยที่สุด จะได้สะดวกรวดเร็ว พวกเธอจะได้สนทนาอธรรม และติรัจฉานกถากันอย่างเสรี เม๊าท์กันให้กระจาย จะได้มองหน้าค่าตา ญาติโยม บุรุษ สตรี ส่งข้อความคุยกัน โทรหากันในที่เปิดเผยและที่ลับตา และเกี้ยวพาราสี กันได้ตามสะดวกเหมือนในยุคปัจจุบัน บุญของพวกเธอแล้วที่ได้มาเกิดเป็นภิกษุในพระพุทธศาสนาในยุคนี้ เพราะจะอาศัยเพียงพระไตรปิฏก บาตร จีวร กุฏี เสนาสนะ อัฐบริขาร๘ นั้นคงไม่พอแก่ฐานะและสติปัญญาและตัณหาของพวกเธอ สิ่งเหล่านี้ล้วนไม่เพียงพอแก่พวกเธอทั้งหลายฯ ในสมณสารูป จงขวนขวายหาความเจริญทางโลกให้มากๆจะได้ตามโลกให้ทัน การที่พวกเธอบวชเข้ามาในยุคนี้และปฎิบัติตามนี้ได้ ก็อย่าไปสนมรรคผล ญาน วิโมกข์ พระนิพพานอะไรเหล่านั้นเลย หาความสุขความสบายใส่ตัว มีกิจนิมนต์ค่อยเที่ยวเล่น เสพกามคุณ ๕ แสดงธรรมพอให้โก้มีชื่อเสียง มีคนศรัทธานับหน้าถือตาจะเป็นการดีกว่า เพราะนี่มันยุคสมัยใหม่แล้ว มันต้องใหญ่โตอลังการ ต้องมากด้วยลาภ สักการะ และยศ เราขอรับรองว่าพวกเธอจะสบายตลอดชาติ ทำได้ดังนี้ ชีวิตก็ย่อมเป็นสุขนักแล นี่แหละ เหล่าอามิสทายาทของเราทั้งหลายฯ จงมีชีวิตอยู่อย่างสุขสบายอย่างชุกมือเปิบ และมีชีวิตอย่างมีความสุขสมบูรณ์ในฐานะสงฆ์ตลอดไปจนสิ้นพระพุทธศาสนาเถิด หากมีอะไรที่เป็นที่ต้องการอีก ให้ทำตามความพอใจได้เลย ไม่ต้องรักษาศีลธรรมวินัยอันดีใดๆต่อไปแล้ว อยู่ให้สบายๆ นี่แหละหนทางดับทุกข์ของพวกเธอ มันจบแล้วล่ะ "

    ดีแล้ว ดีแล้ว ดีแล้ว"



    ภิกษุ "อามะ ภัณเต สาธุเจ้าข้า
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 สิงหาคม 2016
  18. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    หน้าที่คือหน้าที่


     
  19. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    สรุปจะให้เราไม่ต้องรักษาธรรมไว้ ทั้งๆที่รู้ว่าเป็นหน้าที่ ที่ต้องทำน่ะรึ!

    ถูกมาร๕ครอบแปลงมาหรืออย่างไร?


    {O}องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า สมเด็จพระบรมมหาศาสดา{O}

    ทรงตรัสสอนเหล่าเวไนยสัตว์เอาไว้ว่า

    จเช ธนํ องฺควรสฺส เหตุ องฺคํ จเช ชีวิตํ รกฺขมาโน
    องฺคํ ธนํ ชีวิตญฺจาปิ สพฺพํ จเช นโร ธมฺมมนุสฺสรนฺโต


    พึงสละทรัพย์ เพื่อรักษาอวัยวะ พึงสละอวัยวะเพื่อรักษาชีวิต
    เมื่อเล็งเห็นประโยชน์สูงสุด พึงสละทั้งอวัยวะ และชีวิต เพื่อรักษาธรรมไว้



    เราสนทนากับสหายเพื่อยกเขาออกจาก อสัทธรรม แต่เจ้าอยากให้เราแสดง วาทะเอง ผลก็เลยต้องแสดง
    เพื่ออรรถรส คุณลักษณะในการรับชม ย่อมต้องใช้การแสดงศาสตร์และวาทะศิลป์ ในการอุปมาอุปไมย ที่ปัญญาชน สามารถไตร่ตรองตาม เห็นจริงได้ เปรียบประดุจ หากปราถนาจะทำการบรรเลงทาสี ดูดกลืนกินทับถมพื้นที่เก่า ที่มีสีดำอ่อนๆจางๆ ย่อมต้องใช้สีดำสนิท ที่มีความเข้มข้นลึกล้ำยิ่งกว่า มาระบายวาดสี ในอรรถเหล่านี้ ผู้ใดมีดวงตาและจิตใจ ที่ไม่มืดบอด ย่อมเล็งเห็นประโยชน์ เห็นดีเห็น ไม่ดีและสามารถ รู้จักแยกแยะ พิจารณาดีหรือชั่วได้อย่างละเอียด ตามความเพียรปัญญาของตน เสมือนคนร่อนกรวดหา แร่ทองและเพชรพลอย ที่อยู่ในโคลนตม ย่อมได้ซึ่งแร่ธาตุและอัญมนีนั้นฯ เราเองก็มิได้โกรธเกลียด อะไรเขาดอก ทำไปพรรณนั้นๆแหละ! อุปมา:ดุจเพชฌฆาต ผู้ทำหน้าที่ประหารชีวิตนักโทษ แม้มิได้มีเรื่อง โกรธเคืองใจกันมาก่อน ก็ต้องจำใจประหารชีวิตนั้น ผู้มีสะติระลึกได้ ก็ต้องอาศัยตนเป็นหลัก หากไม่รู้จักเตือนตนแล้วไซร้ จักไปตักเตือนอะไรใครที่ไหนได้ ดังพุทธสุภาษิต

    ทน.โต เสฏ.โฐ มนุส.เสสุ
    ในหมู่มนุษย์ คนที่ฝึกตนดีแล้ว ประเสริฐที่สุด
    แม้เราผู้มีภูมิรู้ปานนี้คือ ออกไปอยู่นอกเหตุ เหนือผลทั้งหลายแล้วฯ แม้ฉะนี้ก็ยังคิด และพิจารณาเสมอๆว่า อันเด็กอ่อนผู้บริสุทธิคุณด้วยบุญญาธิการมาจุติ และกำลังเจริญเติบโต อยู่ถ้วนทั่วทั้งสหโลกธาตุ จักมีความประเสริฐดีงาม เพียบพร้อม ทั้งจริยธรรมคุณธรรม อันยังประโยชน์สุข ให้แก่มหาชนนั้น ยังมีสติปัญญาและความชาญฉลาด กว่าตัวเราอีกมากมายนัก ท่านจะเห็นผิดเป็นไฉน ในการกล่าว ยกย่องเชิดชูตนเอง ว่าดีเลิศประเสริฐศรี กว่าผู้อื่นอยู่อย่างนั้น จักแตกต่างอะไรกับ ผู้มีปัญญาทรามต่ำช้าเล่า ท่านเอย

    ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ หม่อมฉันได้เห็นคนทั้งหลายเอาแก่นจันทน์มีราคาตั้งแสนกษาปณ์ ขายแลกกับเปรียงเน่า.

    หากไม่มีผู้ควบคุมธาตุ สรรพสัตว์ในสหโลกธาตุทั้งหลายฯ ย่อมพินาศเสื่อมสูญฯ วัฎสงสารจึงเจริญไม่สิ้นไป ควรจะบวชอุทิศผู้ใดใครกันเล่า!


    พระธรณีปวดร้าว
    ทุกครั้งที่โลกธาตุสั่นสะเทือนหวั่นไหว ด้วยการสำเร็จในการบรรลุพระสัทธรรม นั้นจะยืดเวลารักษาสภาพของโลกธาตุต่างๆไว้

    แต่ทุกครั้งที่พระสัทธรรมถูกแต่งเติมด้วยสัทธรรมปฎิรูปและถูกย่ำยีด้วยอามิสทายาทที่เนรคุณต่อพระสัทธรรมธรณีจะหวั่นไหวพินาศ(ธาตุ๔)

    และทุกครั้งที่อสัทธรรมเจริญโชติช่วงจนถึงขีดสุดก็ถึงคราวิบัติของโลก


    พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรกัสสป ข้อนั้นเป็นอย่างนี้คือ
    เมื่อหมู่สัตว์เลวลง พระสัทธรรมกำลังเลือนหายไป สิกขาบทจึงมีมากขึ้น ภิกษุที่ตั้งอยู่ในพระอรหัตผลจึงน้อยเข้า สัทธรรมปฏิรูปยังไม่เกิดขึ้นในโลกตราบใด
    ตราบนั้นพระสัทธรรมก็ยังไม่เลือนหายไป และสัทธรรมปฏิรูปเกิดขึ้นในโลกเมื่อใด เมื่อนั้นพระสัทธรรมจึงเลือนหายไป ทองเทียมยังไม่เกิดขึ้นในโลก ตราบใด

    ตราบนั้นทองคำธรรมชาติก็ยังไม่หายไป และเมื่อทองเทียมเกิดขึ้น ทองคำธรรมชาติจึงหายไป ฉันใด พระสัทธรรมก็ฉันนั้น สัทธรรมปฏิรูปยังไม่เกิดขึ้นในโลก ตราบใด ตราบนั้นพระสัทธรรมก็ยังไม่เลือนหายไป เมื่อสัทธรรมปฏิรูปเกิดขึ้น เมื่อใด เมื่อนั้นพระสัทธรรมจึงเลือนหายไป ฯ

    ดูกรกัสสป ธาตุดินยังพระสัทธรรมให้เลือนหายไปไม่ได้ ธาตุ
    น้ำ ธาตุไฟ ธาตุลม ก็ยังพระสัทธรรมให้เลือนหายไปไม่ได้ ที่แท้โมฆบุรุษใน
    โลกนี้ต่างหาก เกิดขึ้นมาก็ทำให้พระสัทธรรมเลือนหายไป เปรียบเหมือนเรือจะอัปปาง ก็เพราะต้นหนเท่านั้น พระสัทธรรมยังไม่เลือนหายไปด้วยประการฉะนี้

    "ดูก่อนท่านปัณฑรสฤาษี ในกาลภายหน้านั้น ภิกษุเป็นอันมาก จะเป็นคนมักโกรธ มักผูกโกรธไว้ ลบหลู่ คุณท่าน หัวดื้อ โอ้อวด ริษยา มีวาทะแตกต่างกัน จะเป็นผู้มีมานะ (ถือตัว) ในธรรม ที่ยังไม่รู้ทั่วถึง คิดว่าตื้น ในธรรมที่ลึกซึ้ง เป็นคนเบาปัญญา ไม่เคารพธรรม ไม่มีความเคารพกันและกัน

    ในกาลข้างหน้า โทษภัยเป็นอันมากจะเกิดขึ้นในหมู่สัตว์โลก ก็เพราะภิกษุทั้งหลาย ผู้ไร้ปัญญา จะกระทำ ธรรมะ ที่พระศาสดา ทรงแสดงแล้วนี้ ให้เศร้าหมอง

    ทั้งพวกภิกษุที่มีคุณอันเลว แต่โวหารจัดแกล้วกล้า มีกำลังมาก ปากกล้า ไม่ได้ศึกษาธรรมวินัย ก็จะมีขึ้น ในสังฆมณฑล ส่วนภิกษุผู้มีคุณความดี มีโวหารสมควรแก่เนื้อความ มีความละอาย ต่อบาป ไม่ต้องการ อะไรๆ ก็จะมีกำลังน้อย


    ธาตุอันตรธานปริวัตต์
    คำว่า อัตรธาน คือ ความเสื่อมสูญเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา มี ๕ ประการ คือ
    ๑.ปริยัติอันตรธาน การเสื่อมสูญแห่งพระปริยัติ
    ๒.ปฏิบัติอันตรธาน การเสื่อมสูญแห่งการปฏิบัติ
    ๓.ปฏิเวธอันตรธาน การเสื่อมสูญแห่งการสำเร็จมรรคผลนิพพาน
    ๔.ลิงคอันตรธาน การเสื่อมสูญแห่งเพศสมณะ
    ๕.ธาตุอันตรธาน การเสื่อมสูญแห่งพระบรมธาตุ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 18 สิงหาคม 2016
  20. เสขะปฎิสัมภิทา

    เสขะปฎิสัมภิทา ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นเรา ตถาคต

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2014
    โพสต์:
    2,790
    ค่าพลัง:
    +3,201
    รู้เหรอว่าเราจะไม่มีทางบรรลุธรรม มองเห็นเหรอ ด้วยสติปัญญาเพียงเท่านั้น รับรองได้ว่า ถ้าไม่มีการรักษาด้วยกำลังพระบรมมหาสัมมาสัมโพธิญานของพระตถาคตและพระอรหันตสาวกที่ทรงปฎิสัมภิทาญานผู้เป็นธรรมทายาท อย่าได้คิดว่าจะได้พิจารณาและเจริญได้ในพระสัทธรรม เท่าที่หลงเหลืออยู่ในปัจจุบันก็หาได้สมบูรณ์พร้อมไม่


    เมื่อเห็นเป็นสิ่งสมมุติก็ย่อมเห็นว่าไม่มีอยู่จริง เมื่อไม่มีอยู่จริง การที่พระพุทธเจ้าทรงเคารพพึ่งพิงพระสัทธรรม ก็คงเห็นเป็นสิ่งที่สมมุติ เมื่อเป็นสิ่งสมมุติสิ่งนั้นไม่มีอยู่จริง และไม่เที่ยง ถ้ามีสติปัญญาคิดได้อย่างนี้ ก็ไร้คุณสมบัติที่จะเสวนากับเรา

    พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
    เมื่อครั้งแรกตรัสรู้ เราพักอยู่ที่ต้นอชปาลนิโครธ แทบฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา
    ตำบลอุรุเวลา เมื่อเราเร้นอยู่ในที่สงัด เกิดปริวิตกขึ้นว่า คนไม่มีที่เคารพ
    ไม่มีที่ยำเกรงอยู่เป็นทุกข์ เราจะพึงสักการะ เคารพ พึ่งพิงสมณะหรือ
    พราหมณ์ผู้ใดอยู่เล่าหนอ เราตรองเห็นว่า เราจะพึงสักการะเคารพพึ่งพิงสมณะ
    หรือพราหมณ์อื่นอยู่ ก็เพื่อทำสีลขันธ์ สมาธิขันธ์ ปัญญาขันธ์ วิมุตติขันธ์
    ของเราที่ยังไม่บริบูรณ์ให้บริบูรณ์ ก็แต่ว่าเราไม่เห็นสมณะหรือพราหมณ์อื่น
    ที่ถึงพร้อมด้วยศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติยิ่งกว่าตนในโลกทั้งเทวโลก ทั้งมาร-
    โลก ทั้งพรหมโลก ในหมู่สัตว์ทั้งเทวดามนุษย์ ทั้งสมณพราหมณ์ ซึ่งเรา
    จะพึงสักการะเคารพพึ่งพิงอยู่ได้ดังนี้แล้ว เราตกลงใจว่า อย่ากระนั้นเลย ธรรม
    ใดที่เราตรัสรู้นี้ เราพึงสักการะเคารพพึ่งพิงธรรมนั้นอยู่เถิด.

    พระอรหันตสัมมาสัมพุทธะแม้เหล่าใดที่มีมา
    แล้วในอดีตกาล พระผู้มีพระภาคเจ้า แม้เหล่านั้น ก็ได้ทรงสักการะเคารพ
    พึ่งพิงพระธรรมอยู่เหมือนกัน พระอรหันตสัมมาสมพุทธะแม้เหล่าใดที่จักมีใน
    อนาคตกาล พระผู้มีพระภาคเจ้า แม้เหล่านั้น ก็จักทรงสักการะเคารพพึ่งพิง
    พระธรรมนั่นแลอยู่ แม้พระผู้มีพระภาคเจ้าอรหันตสัมมาสัมพุทธะในกาลบัดนี้
    ก็ขอจงทรงสักการะเคารพพึ่งพิงพระธรรมนั้นอยู่เถิด

    พระสัมพุทธเจ้าเหล่าใดที่ล่วงไป
    แล้วก็ดี พระพุทธเจ่าเหล่าใดที่ยังไม่มาถึง
    ก็ดี พระสัมพุธเจ้าพระองค์ใดผู้ยังความ
    โศกของชนเป็นอันมากให้เสื่อมหายใน
    ปัจจุบันนี้ก็ดี พระพุทะเจ้าทั้งปวงนั้นเป็น
    ผู้ทรงเคารพพระสัทธรรมแล้ว ทรงเคารพ
    พระสัทธรรมอยู่ และจักทรงเคารพพระ-
    สัทธรรม นี่เป็นธรรมดาของพระพุทธเจ้า
    ทั้งหลาย.
    เพราะเหตุนั้นแล ผู้รักตน จำนง
    ความเป็นใหญ่ ระลึกถึงคำสั่งสอนของ
    พระพุทธเจ้าทั้งหลาย พึงเคารพพระสัท-
    ธรรมเถิด.


    อนิจจสูตรที่ ๔
                 [๒๗๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย รูปที่เป็นอดีตไม่เที่ยง สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้น
    เป็นทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา สิ่งใดเป็นอนัตตา สิ่งนั้นไม่ใช่ของ
    เรา ไม่เป็นเรา ไม่ใช่ตัวตนของเรา ข้อนี้พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็น
    จริงอย่างนี้ เสียงที่เป็นอดีตไม่เที่ยง ... กลิ่นที่เป็นอดีตไม่เที่ยง ... รสที่เป็นอดีต
    ไม่เที่ยง ... โผฏฐัพพะที่เป็นอดีตไม่เที่ยง ... ธรรมารมณ์ที่เป็นอดีตไม่เที่ยง สิ่งใด
    ไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา สิ่งใดเป็นอนัตตา
    สิ่งนั้นไม่ใช่ของเรา ไม่เป็นเรา ไม่ใช่ตัวตนของเรา ข้อนี้พึงเห็นด้วยปัญญา
    อันชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็น
    อยู่อย่างนี้ ฯลฯ กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ฯ
    จบสูตรที่ ๔๖
    อนิจจสูตรที่ ๕
                 ดูกรภิกษุทั้งหลาย รูปที่เป็นอนาคตไม่เที่ยง สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็น
    ทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา สิ่งใดเป็นอนัตตา สิ่งนั้นไม่ใช่ของเรา
    ไม่เป็นเรา ไม่ใช่ตัวตนของเรา ข้อนี้พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริง
    อย่างนี้ เสียงที่เป็นอนาคตไม่เที่ยง ... กลิ่นที่เป็นอนาคตไม่เที่ยง ... รสที่เป็น
    อนาคตไม่เที่ยง ... โผฏฐัพพะที่เป็นอนาคตไม่เที่ยง ... ธรรมารมณ์ที่เป็นอนาคต
    ไม่เที่ยง ฯลฯ กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ฯ
    จบสูตรที่ ๔๗
    อนิจจสูตรที่ ๖
                 ดูกรภิกษุทั้งหลาย รูปที่เป็นปัจจุบันไม่เที่ยง สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์
    สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา สิ่งใดเป็นอนัตตา สิ่งนั้นไม่ใช่ของเรา ไม่
    เป็นเรา ไม่ใช่ตัวตนของเรา ข้อนี้พึงเห็นด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริง
    อย่างนี้ เสียงที่เป็นปัจจุบันไม่เที่ยง ... กลิ่นที่เป็นปัจจุบันไม่เที่ยง ... รสที่เป็น
    ปัจจุบันไม่เที่ยง ... โผฏฐัพพะที่เป็นปัจจุบันไม่เที่ยง ... ธรรมารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน
    ไม่เที่ยง ฯลฯ กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ฯ
    จบสูตรที่ ๔๘



    อกาลิโก พระธรรมไม่ประกอบด้วยกาล

    สงสัยจะเห็นธรรมไม่เป็นอกาลิโกเลียแล้วสินะ เลยเห็นเป็นอนัตตา

    “สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้น เป็นทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้น เป็นอนัตตา

    "ดูก่อนอานนท์ ธรรมก็ดี วินัยก็ดี ที่เราได้แสดงไว้ และบัญญัติไว้ด้วยดี นั่นแหละจักเป็นพระศาสดาของพวกท่านสืบแทนเราตถาคต เมื่อเราล่วงไปแล้ว"

    ครั้นแล้ว พระพุทธเจ้าตรัสเป็นปัจฉิมโอวาทครั้งสุดท้ายว่า "ภิกษุทั้งหลาย! บัดนี้เราขอเตือนพวกท่านให้รู้ว่า สิ่งทั้งหลายที่เกิดมาในโลกมีความเสื่อมสลายเป็นธรรมดา ท่านทั้งหลายจงทำหน้าที่อันเป็นประโยชน์แก่ตนและคนอื่นให้สำเร็จบริบูรณ์ด้วยความไม่ประมาทเถิด"



    สิ่งทั้งหลายที่เกิดมาในโลกมีความเสื่อมสลายเป็นธรรมดา แล้วคิดเหรอว่า พระไตรปิฏกนั้นเกิดและมีมาแต่ในโลกธาตุใบนี้ภพนี้ภูมินี้เพียงแต่ที่เดียวและจะต้องสูญสลายไปด้วยกาล เป็นของไม่เที่ยงเป็นสิ่งสมมุติอย่างนั้น

    พระไตรปิฏกพระสัทธรรมราชา ไม่ใช่สิ่งที่จะเป็นอนัตตา แต่อยู่นอกเหตุเหนือผล กุญแจไขประตูพระนิพพาน ย่อมเป็นของคู่กันกับประตูพระนิพพาน

    ตราบใดที่มีพระนิพพาน กุญแจที่ไขเข้าสู่ประตูก็จะมีอยู่เสมอๆ


    สุภัททะ !
    ในธรรมวินัยใด ไม่มีอริยมรรคมีองค์แปด
    สมณะที่หนึ่ง (พระโสดาบัน) ก็หาไม่ได้ในธรรมวินัยนั้น;
    แม้สมณะที่สอง (พระสกทาคามี) ก็หาไม่ได้;
    แม้สมณะที่สาม (พระอนาคามี) ก็หาไม่ได้;
    แม้สมณะที่สี่ (พระอรหันต์) ก็หาไม่ได้ในธรรมวินัยนั้น.
    สุภัททะ !
    ในธรรมวินัยนี้แล มีอริยมรรคมีองค์แปด
    สมณะที่หนึ่ง (พระโสดาบัน) ก็หาได้ในธรรมวินัยนี้;
    แม้สมณะที่สอง (พระสกทาคามี) ก็หาได้;
    แม้สมณะที่สาม (พระอนาคามี) ก็หาได้;
    แม้สมณะที่สี่ (พระอรหันต์) ก็หาได้ในธรรมวินัยนี้.
    สุภัททะ !
    ถ้าภิกษุทั้งหลายเหล่านี้จะพึงอยู่โดยชอบไซร้
    โลกก็จะไม่ว่างจากพระอรหันต์ทั้งหลาย แล.
    มหา. ที. ๑๐/๑๗๕/๑๓๘.




    ภิกษุ ท.! โลกธรรม มีอยู่ในโลก. ตถาคต ย่อมตรัสรู้ ย่อมรู้พร้อมเฉพาะ ซึ่งโลกธรรมนั้น; ครั้นตรัสรู้แล้ว รู้พร้อมเฉพาะแล้ว ย่อมบอก ย่อมแสดง ย่อมบัญญัติ ย่อมตั้งขึ้นไว้ ย่อมเปิดเผย ย่อมจำแนกแจกแจง ย่อมทำให้เป็นเหมือนการหงายของที่คว่ำ.

    ภิกษุ ท.! ก็อะไรเล่า เป็นโลกธรรมในโลก?

    ภิกษุ ท.! รูป เป็นโลกธรรมในโลก. ตถาคต ย่อมตรัสรู้ ย่อมรู้พร้อมเฉพาะ ซึ่งรูปอันเป็นโลกธรรมนั้น; ครั้นตรัสรู้แล้ว รู้พร้อมเฉพาะแล้วย่อมบอก ย่อมแสดง ย่อมบัญญัติ ย่อมตั้งขึ้นไว้ ย่อมเปิดเผย ย่อมจำแนกแจกแจง ย่อมทำให้เป็นเหมือนการหงายของที่คว่ำ.

    ภิกษุ ท.! บุคคลบางคน แม้เราตถาคตบอก แสดง บัญญัติ ตั้งขึ้นไว้เปิดเผย จำแนกแจกแจง ทำให้เป็นเหมือนการหงายของที่คว่ำ อยู่อย่างนี้ เขาก็ยังไม่รู้ไม่เห็น. ภิกษุ ท.! กะบุคคลที่เป็นพาล เป็นปุถุชน คนมืด คนไม่มีจักษุคนไม่รู้ไม่เห็น เช่นนี้ เราจะกระทำอะไรกะเขาได้.



    ถ้าคนมีปัญญาก็คงจะรู้ว่า เรามีหน้าที่รักษาปกป้อง พระศาสดา ( ธรรมก็ดี วินัยก็ดี )ให้คงอยู่ต่อไปตามกาลและรอกาลจุติธรรมโดยปฏิสัมภิทาญานของผู้อื่นอันจะตามเรามาในภายหลังจากกาลนี้ด้วย


    จะให้ปัจเจกอริยะบุคคลไปเป็นเปรต

    สาธุ สาธุ สาธุ

    ถ้าเป็นได้คงต้องรื้อทิพยภูมิของพระอริยะทิ้งทั้งหมด ขอให้มีความเพียรเช่นนั้นเท่าที่สามารถจะทำได้นะ nilakarn



    ผู้ที่เห็นธรรมเป็นอนัตตา แล้ว"พระสัทธรรม"จะให้ไปอนัตตา ในพ.ศ ไหน และมหากัปป์ไหน ถามจริงๆ เคยพิจารณาในสิ่งที่เป็นอจิณไตยบ้างไหม?

    ล่องแพยังไม่เข้าถึงฝั่งจะให้ทิ้งแพที่อาศัย แล้วแพนี้ก็แพวิเศษด้วยที่สามารถใช้ข้ามฝั่งมหานทีแห่งนี้ได้เพียงอย่างเดียวเท่านั้นไม่มีสิ่งอื่นหรือวิธีอื่น


    ไม่เห็นไม่รู้พระนิพพานอย่ากล่าวถึงพระนิพพาน


    หากรักสงบก็จงอยู่อย่างสงบเถิด หน้าที่นี้ไม่ใช่หน้าที่ของท่าน ท่านไม่รู้หรอก แต่หากจะมาห้ามเรา หน้าที่ของท่านก็มาจากมารเท่านั้นเอง งั้นก็จงไปเสียเถิดมาร เปลี่ยนใจเราและการกระทำของเรามิได้หรอก
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 สิงหาคม 2016

แชร์หน้านี้

Loading...